การนำเสนอเชิงวิชาการ

Academic Presentation

-    เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจคำศัพท์สำนวนภาษาและหลักการพูดในการนำเสนอเชิงวิชาการ   -     เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ การใช้ภาษาเพื่อเสนอความคิดเห็น   ชี้แจงเหตุผล  และโต้แย้งในที่ประชุม   -    เพื่อให้มีทักษะการจัดการขั้นตอนในการนำเสนองานทางวิชาการ -    เพื่อให้มีทักษะการพูดนำเสนอผลงานเชิงวิชาการ  และการประชุมสัมมนา    -    เพื่อให้มีทักษะการใช้สื่อ (Visual support) ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการ
-    เพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดในการนำเสนอเชิงวิชาการ   -    เพื่อให้สามารถอ่านและฟัง บทความ เอกสารและวารสาร ตำราและรายงานเกี่ยวกับวิชาเฉพาะสาขา -    เพื่อให้สามารถเก็บสาระสำคัญ  สรุปความ วิเคราะห์ความเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังในการนำเสนอเชิงวิชาการ   -    เพื่อให้สามารถรายงานปากเปล่างานทางวิชาการ -    เพื่อให้สามารถใช้ภาษาตะวันตกเป็นเครื่องมือในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ -    เพื่อให้สามารถใช้ภาษาตะวันตกที่เรียนเป็นเครื่องมือศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม -    เพื่อพัฒนากิจนิสัยในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง -    เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อภาษาตะวันตก
การใช้สำนวนภาษาและหลักการพูดในการนำเสนอเชิงวิชาการ  การใช้ภาษาเพื่อเสนอความคิดเห็น   ชี้แจงเหตุผล  และโต้แย้งในที่ประชุม  นำไปประยุกต์ใช้ในการพูดนำเสนอผลงานเชิงวิชาการ และการประชุมสัมมนา
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1.1.1  [   ] มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2  [] มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.3  [   ] มีวินัย  ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4  [O] เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1)    ให้ความรู้โดยสอดแทรกในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ  (2)    กำหนดให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ (3)    ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามาแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มในช่วงการอภิปรายระดมสมอง (4)    ให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและช่วยกันระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด
(1)    การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอและตรงต่อเวลา  (2)    การส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด (3)    การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน (4)    การเข้าร่วมกิจกรรมซึ่งมหาวิทยาลัยฯ คณะฯ สโมสรนักศึกษาฯ สาขาฯ หลักสูตรฯ และชมรมได้จัดขึ้น
2.1.1  [] มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาสา 2.1.2  [   ] สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3 [O] สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง            
 
(1)    ศึกษาความรู้จากเนื้อหาในบทเรียนต่างๆ แล้วทำกิจกรรมประกอบเนื้อหาตามที่กำหนดในบทเรียน  (2)    ร่วมกลุ่มอภิปรายคำตอบและระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด (3)    การทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียน (4)    นักศึกษานำเสนองานในชั้นเรียนเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
 
(1)    ทดสอบกลางภาคและปลายภาค  (2)    การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน (3)    การนำเสนองานในชั้นเรียน (4)    การทำงานมอบหมายที่ผู้สอนกำหนดให้
 
3.1.1 [] มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.1.2 [O] มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 3.1.3 [O] มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม
 
(1)    ให้นักศึกษาฝึกการนำเสนองานเกี่ยวกับงานวิชาการที่ผู้เรียนค้นคว้าด้วยตนเองนอกชั้นเรียนและ นำเสนอเป็นภาษาอังกฤษทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อยโดยจัดบริบทในห้องเรียนให้เหมือน สภาพการณ์ ที่เป็นจริง (2)    ให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มย่อย เพื่อฝึกฝนทักษะการนำเสนองานทางวิชาการตามเรื่องที่กำหนด ในกรณีศึกษา จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
 
(1)    แบบฝึกปฏิบัติของนักศึกษา (2)    การทำกิจกรรมในชั้นเรียน (3)    การอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น (4)    การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
 
4.1.1  [O] มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2  [   ] มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม 4.1.3  [   ] สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4  [   ] สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
(1)    ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีตามมารยาทสังคมของกลุ่มสังคมเฉพาะต่างๆ (2)    จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียนและกระตุ้นให้นักศึกษาเข้าร่วมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ (3)    ทำแบบฝึกหัดนอกชั้นเรียน โดยกำหนดให้นักศึกษาแสวงหาความรู้จากการค้นคว้าหรือสังเกตพฤติกรรม ของกลุ่มสังคมต่างๆ ที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกัน
 
(1)    การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน (2)    งานมอบหมาย / แบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน (3)    การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
 
5.1.1  [   ] เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม     5.1.2  [   ] สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3  [   ] ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรม
 
(1)    การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียนตามสถานการณ์การสื่อสารที่กำหนด (2)    ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
(1)    การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน (2)    การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน (3)    ผลงานที่นักศึกษาจัดทำขึ้น (4)    การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 Chapter 1-3 ทดสอบกลางภาค 9 30%
2 Chapter 4-6 ทดสอบปลายภาค 17 30%
3 มีความรู้ความเข้าใจในทุกบทเรียน ปฏิบัติหน้าที่และทำงานมอบหมายได้ครบถ้วนสมบูรณ์ การฝึกปฏิบัติ / กิจกรรม แบบฝึกปฏิบัติในบทเรียน งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 มีทัศนคติที่ดีต่อรายวิชา เข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ คะแนนจิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
Grussendorf, M. (2011). English for presentaions. Berlin: Oxford University Press.
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้       1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน        2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้       3) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
     การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้       - อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา  ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา       - สังเกตจาการทำกิจกรรมในชั้นเรียน       - ประเมินจากผลการนำเสนอ       - ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
 
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน  - กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา  - การวิจัยในชั้นเรียน
 
      ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่าพัฒนาก้าวหน้าหรือมีการพัฒนาที่ผิดปกติแก้โดยการขอพบนักศึกษา แจ้งผลการได้รับคะแนนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขา/ คณะ