การภาษีอากร 1

Taxation 1

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ และความจำเป็นที่รัฐจำต้องจัดเก็บภาษี แหล่งรายรับของรัฐบาล ความแตกต่างของรายรับอื่นๆที่ไม่ได้มาจากการภาษีอากร นโยบายและส่วนประกอบภาษีอากร ปัญหาภาษีอากรที่เกิดขึ้นภายในประเทศ วิธีการจัดเก็บตามประมวลรัษฎากร ซึ่งได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น และภาษีเฉพาะอย่างอื่นๆซึ่งรัฐกำหนดขึ้นตามความจำเป็นและสภาวะเศรษฐกิจ  2. นักศึกษาสามารถประยุกต์กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เหล่านั้นเพื่อการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม    3. เพื่อให้นักศึกษาเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น และภาษีเฉพาะอย่างอื่นๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ด้านนโยบายภาษีในปัจจุบัน   2. ศึกษาถึงกฎหมายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น และภาษีเฉพาะอย่างอื่นๆซึ่งรัฐกำหนดขึ้นตามความจำเป็นและสภาวะเศรษฐกิจ
ศึกษาหลักการ วิธีการ และความจำเป็นที่รัฐจำต้องจัดเก็บภาษี แหล่งรายรับของรัฐบาล ความแตกต่างของรายรับอื่นๆที่ไม่ได้มาจากการภาษีอากร นโยบายและส่วนประกอบภาษีอากร ปัญหาภาษีอากรที่เกิดขึ้นภายในประเทศ วิธีการจัดเก็บตามประมวลรัษฎากร ซึ่งได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น และภาษีเฉพาะอย่างอื่นๆซึ่งรัฐกำหนดขึ้นตามความจำเป็นและสภาวะเศรษฐกิจ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ   -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์/ เฉพาะรายที่ต้องการ
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายภาษีอากร  2.ร่วมวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็นกลุ่ม  3.กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ 
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมา อย่างถูกต้องและเหมาะสม  1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา  1.3.4   ประเมินผลการนำงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญ ของนโยบายและส่วนประกอบภาษีอากร ปัญหาภาษีอากรที่เกิดขึ้นภายในประเทศ วิธีการจัดเก็บตามประมวลรัษฎากร ซึ่งได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม หลักและวิธีการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น และภาษีเฉพาะอย่างอื่นๆซึ่งรัฐกำหนดขึ้นตามความจำเป็นและสภาวะเศรษฐกิจ
บรรยาย   การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการภาษีอากรเพิ่มเติมโดยใช้เครื่องมือสื่อสารที่นักศึกษามีอยู่ การศึกษาโดยใช้ปัญหาและมอบแบบฝึกหัดให้ทำงานกลุ่ม  อันเป็นการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก แบบฝึกหัด
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ นโยบาย ส่วนประกอบ และวิธีการจัดเก็บภาษีอากร
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาปัญหาด้านภาษีอากร  3.2.2   อภิปรายกลุ่ม  3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา   3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์นโยบาย ส่วนประกอบ และวิธีการจัดเก็บภาษีอากร  3.3.2   วัดผลจากการทำแบบฝึกหัด  ตอบคำถามด้านภาษีอากร  3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน  4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม  4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  4.2.2   มอบหมายแบบฝึกหัด   4.2.3   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  4.3.3   ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด การศึกษาด้วยตนเอง    
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข  5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน  5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา  5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำแบบฝึกหัด เน้นโจทย์วิเคราะห์ปัญหาด้านภาษีอากร  5.2.2   มอบแบบฝึกหัด
5.3.1   ประเมินจากแบบฝึกหัด การวิเคราะห์และแก้โจทย์ภาษีอากร  5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คิดอย่างเป็นระบบ สามารถคำนวณภาษีอย่างง่ายๆได้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค แบบฝึกหัดและงานกลุ่ม 9 และ 17 สอบ เก็บคะแนนระหว่างเทอม สอบ 60 เก็บคะแนนระหว่างเทอม 30 เข้าชั้น 10
ลลิตพรรณ จรรย์สืบศรี. เอกสารประกอบการสอน การภาษีอากร (Taxation) (ปรับปรุง)
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา ของกรมสรรพากร
.การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  2. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  3.ข้อเสนอแนะผ่านสื่อออนไลน์  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   ซักถามจากนักศึกษา  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการร่วมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน และร่วมทำแบบฝึกหัดในการคำนวณหรือยื่นแบบเสียภาษี 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา  4.2   แจ้งให้นักศึกษาทราบคะแนนและทวนสอบตนเอง
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงรายวิชาบ่อย ให้ทันกับนโยบายภาษี หรือหลักเกณฑ์การจัดเก็บภาษีที่ หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนให้แตกต่างกันบ้าง โดยนำแบบในการยื่นเสียภาษีให้นักศึกษาฝึกใช้