สถิติพื้นฐาน

Elementary Statistics

      1.  รู้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ
      2.  เข้าใจวิธีการหาความน่าจะเป็น
      3.  เข้าใจการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
      4.  เข้าใจหลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
      5.  เข้าใจหลักการทดสอบไคสแควร์
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้คณิตศาสตร์เพียงพอที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ  มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานสถิติ  ความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องและต่อเนื่อง  การประมาณค่า   การทดสอบสมมติฐาน  และการทดสอบไคสแควร์
วันอังคารและวันพุธ เวลา 09.00 - 11.30 น.
               ห้องพักครู สำนักงานสาขาวิทยาศาสตร์ อาคารปฏิบัติการกลาง  
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
š1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. ก่อนเรียนเนื้อหาทุกครั้งฝึกให้นักศึกษามีวินัย ตรงต่อเวลา รู้จักรับผิดชอบ
2. อภิปรายกลุ่ม
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.  สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
3.  ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
˜2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. บรรยาย
2. สาธิตการใช้อุปกรณ์ และสื่อการสอน
3. นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยสอนหรือประกอบบทเรียน
1. การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2. การตรวจงานที่มอบหมาย
3. ซักถามและรายงาน ผลงานที่ได้รับมอบหมาย
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การมอบหมายงานโดยการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นกลุ่มแล้วทำรายงานส่ง
2. ยกตัวอย่างในเนื้อหารายวิชาให้แสดงการคิด แก้ปัญหาอย่างมีระบบ
 3. การมอบหมายงาน โดยให้ทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวน
1. สอบกลางภาคและปลายภาค 
2.จากการตรวจชิ้นงานที่ครูได้มอบหมายให้ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
3. จากการสังเกตการทำงานของนักศึกษาว่าทำเป็นระบบหรือไม่อย่างไร
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานเป็นรายกลุ่ม และรายบุคคล แล้วให้นำเสนอเป็นรายงาน
2. ให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติม และนำเสนอเป็นรายงาน
1. สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
2. สังเกตจากการตรวจงานที่มอบหมาย
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์หรือสื่อการสอนอื่นๆ
2. นำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เทคโนโลยีสมัยใหม่
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 22000001 สถิติพื้นฐาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งรายงานตรงเวลา ทุกสัปดาห์ 5%
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ สอบ 9,17 40%
3 ทักษะทางปัญญา การทดสอบย่อย ตรวจงานที่มอบหมาย 4,12,16 40%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา การทำงานกลุ่ม ทุกสัปดาห์ 5%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา จากรายงาน และการนำเสนอ 16 10%
เอกสารประกอบการสอน วิชาสถิติพื้นฐาน
กมล  เอกไทยเจริญ.  คณิตศาสตร์ ม.6 . กทม.  ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จำกัด . 2521 กัลยา  วานิชย์บัญชา. หลักสถิติ กทม. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539 ผ่องศรี   คุ้มจอหอ, พัศนีย์  พันตา และลำดวน  ยอดยิ่ง . สถิติธุรกิจ . กทม. สำนักพิมพ์เอมพันธ์. 2540 สุจิตรา  หังสพฤกษ์.  สถิติธุรกิจ. กทม. บัณฑิตสาส์น  จำกัด. ศิริลักษณ์  สุวรรณวงศ์. หลักสถิติเบื้องต้น.  กทม.  สุวีริยาสาส์น ,2539
บทความเกี่ยวกับสถิติ  จากเวบไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
 
-  การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
-  แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
-  ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
- การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
        - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบ ข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา