การนำเสนอเชิงวิชาการ

Academic Presentation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ส านวนภาษาและหลักการพูดในการน าเสนองาน เชิงวิชาการ การใช้ภาษาเพื่อเสนอความคิดเห็น ชี้แจงเหตุผล และโต้แย้งในที่ประชุมนำไปประยุกต์ใช้ในการพูด น าเสนอผลงานเชิงวิชาการ และการประชุมสัมมนา 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านภาษาในการน าเสนองานเชิงวิชาการ ฝึกการใช้ส านวนภาษาอังกฤษเพื่อ น าไปประยุกต์ใช้การน าเสนอผลงาน และการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ 
การใช้สำนวนภาษาและหลักการพูดในการน าเสนองานเชิงวิชาการ การใช้ภาษาเพื่อเสนอความคิดเห็น ชี้แจงเหตุผล และโต้แย้งในที่ประชุม น ำไปประยุกต์ใช้ในการพูดน าเสนอผลงานเชิงวิชาการ และการ ประชุมสัมมนา   
อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.1 มีจิตส านึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย
1.2.1 ให้นักศึกษาท างานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 ก าหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ าเสมอ การส่งงานตรงตามก าหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.1 การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจในทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชา เน้น ความรู้ความเข้าใจในการใช้ส านวนภาษาและหลักการพูดในการน าเสนองานเชิงวิชาการ การใช้ภาษาเพื่อเสนอ ความคิดเห็น ชี้แจงเหตุผล และโต้แย้งในที่ประชุมอย่างเหมาะสม
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏี และหลักการปฏิบัติในงานอาชีพได้
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่ก าหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อน ามาฝึกในชั้นเรียน
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ 
2.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2 การวิเคราะห์บริบทจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและน ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้าน
3.1.1 การประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการ ค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการน าเสนอเชิงวิชาการ
3.1.2 การน าความรู้เกี่ยวกับหลักการน าเสนอ และความรู้ในเนื้อหาที่สนใจมาคิดและใช้ในการ น าเสนอชิงวิชาการอย่างเป็นระบบ 
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดย
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์กรณีศึกษาและตัวอย่างจากสถานการณ์จริง 3.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการน าเสนอเชิงวิชาการ
3.2.2 ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เฉพาะที่ก าหนด จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน 
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การฝึกปฏิบัติการท างานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ทั้งต่ออาจารย์ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียน
4.1.2 ภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม รวมถึงการเป็นผู้ฟังที่ด
จัดให้นักศึกษาได้ท ากิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และช่วยกัน ระดมสมองในการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน
4.3.1 ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี
5.1.1 ความรู้และทักษะในการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม กับการน าเสนอเชิงวิชาการใน สถานการณ์ต่าง ๆ
5.1.2 ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับกาลเทศะและ สอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล 
5.2.1 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการน าเสนอเชิงวิชาการใน บทเรียน
5.2.2 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการท าสื่อประกอบการน าเสนอ
5.2.3 ให้นักศึกษาฝึกใช้เทคโนโลยีประกอบการน าเสนอเชิงวิชาการในสถานการณ์ต่าง ๆ
5.2.4 ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ
5.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
5.3.2 ผลการฝึกจัดท าและใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการน าเสนอของนักศึกษา
5.3.3 ผลจากการค้นคว้าข้อมูล และศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตส านึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏี และหลักการปฏิบัติในงานอาชีพได้ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง การประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการ ค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการน าเสนอเชิงวิชาการ การน าความรู้เกี่ยวกับหลักการน าเสนอ และความรู้ในเนื้อหาที่สนใจมาคิดและใช้ในการ น าเสนอชิงวิชาการอย่างเป็นระบบ มนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ทั้งต่ออาจารย์ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียน ภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม รวมถึงการเป็นผู้ฟังที่ดี ความรู้และทักษะในการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม กับการน าเสนอเชิงวิชาการใน สถานการณ์ต่าง ๆ ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับกาลเทศะและ สอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1 13031022 การนำเสนอเชิงวิชาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 /3.1 /3.2 สอบกลางภาค / สอบปลายภาค 8/17 20/20
2 1.1 /3.1 /3.2 4.1 /4.2 / 5.1 / 5.3 แบบฝึกหัด / กิจกรรม / งาน มอบหมาย โครงการประชุมสัมมนาวิชาการ ตลอดภาคการศึกษา 50
3 1.3 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10
1. Dale, P. & Wolf, J. C. 2006. Speech Communication Made Simple. New York: Pearson Longman.
2. Harrington, David and Charles Le Beau. 2009. Speaking of Speech (Basic Presentation Skills for Beginners) Student Book. New Edition. Macmillan.
3. Richards, Jack C. with Jonathan Hull and Susan Proctor. 1991. New Interchange (English for International Communications. Cambridge University Press.
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดท าโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
น าผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูล เพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ด าเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา จากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผล การทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือ หัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
น าผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและ รายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย