การสนทนาภาษาจีน

Chinese Conversation

1.1 มีความรู้ความเข้าใจคำศัพท์ สำนวนภาษาจีนในสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนศิลปะและวัฒนธรรมจีน
1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาจีนเบื้องต้น
1.3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรมจีนเบื้องต้น
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาและฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนในสถานการณ์ที่ต่างกัน และศึกษาวัฒนธรรมการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆฝึกทักษะในการสื่อสาร เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และเทศกาลของประเทศจีน
3.1 วันอังคาร พุธ พฤหัส เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีน
อาคารเรียนรวม เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ห้อง 14-201
โทร 0-5434-2547 ต่อ 150
3.2 e-mail: kuwenwong@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- บรรยายสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
- ฝึกความรับผิดชอบการทำงานของตัวเองและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน การส่งงานตรงเวลา การเข้าชั้นเรียน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- บรรยาย
- ฝึกปฏิบัติ
- ทำกิจกรรมกลุ่ม
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน สอบวัดความรู้ แบบฝึกหัด

 
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- Brainstorming
- Role play
- Cooperative team learning
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน โครงงานและการนำเสนอ

 
 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ใช้กิจกรรมกลุ่มและกิจกรรมเพื่อสังคม
การแสดงออกและเข้าร่วมกิจกรรม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมให้นักศึกษาใช้ภาษาจีนในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
การนำเสนอผลงานกลุ่ม การแสดงบทบาทสมมติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมและจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 BOAEC144 การสนทนาภาษาจีน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) สอบ แบบฝึกหัด 2-7,10-12 10%
3 ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การจัดนิทรรศการ บทบาทสมมติ 5-7,10-11,14 40%
3 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) สังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกับผู้อื่น ชิ้นงานและการนำเสนอ 5-7,10-11,14 5%
3 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) ประสิทธิผลของการนำเสนอผลงานกลุ่ม 5-7,10-11,14 5%
6 การสอบกลางภาค 9 15 %
7 การสอบปลายภาค 17 15 %
-เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการสนทนาภาษาจีน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ประจำปีพ.ศ.2561.
 
- ชวน เลาหวิรุฬห์กุล.เรียนภาษาจีนกลางให้ดีได้อย่างไร.กรุงเทพฯ:บิ๊กแอนด์สมอลล์กรุ๊ป,2545.
- เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ.พจนานุกรม จีน-ไทย.กรุงเทพฯ:รวมสาส์น,2546.
- วรรณิดา ถึงแสง.ไวยากรณ์จีนเบื้องต้น.เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่,2547.
- 商务印书馆辞书研究中心修订(2001)《新华词典》 (2001年修订版) , 北京:商务印书馆.
- 中国社会科学院语言研究所词典编辑室(2002)《现代汉语词典》 (汉英双语) , 北京:外语教学与研究出版社.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 1 เล่ม 1.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 1 เล่ม 2.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 1 เล่ม 3.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 2 เล่ม 1.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 2 เล่ม 2.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
 
1.1 ประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา
1.2สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาหรือใช้แบบสอบถาม
2.1 นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนผ่านระบบการประเมินการเรียนการสอนออนไลน์
2.2 สังเกตความสนใจความตั้งใจของผู้เรียน
2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการพัฒนาผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้
ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบการประเมินผลการเรียนของนักศึกษาก่อนส่งผลการศึกษา
จากผลการประเมินและตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามีการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยปรับปรุงรายวิชาด้านเนื้อหา การจัดกิจกรรม สื่อการสอน การศึกษาค้าคว้าด้วยตัวเอง การมอบหมายงานและการวัดผลประเมินผล