กลศาสตร์ของแข็ง

Mechanics of Solid

เข้าใจเกี่ยวกับ คุณสมบัติของวัสดุทางด้านความเค้นและเครียดในขั้นพื้นฐาน การเปลี่ยนรูปของวัสดุภายใต้ภาระกรรมในแนวแกนเดียวการบิดตัวของเพลากลมและเพลากลวงโมเมนต์แรงเฉือน และการโก่งตัวของคาน ความเค้นจากการโก่งตัวของคานที่แก้ปัญหาได้โดยทางสถิติศาสตร์ความเค้นและความเครียดบนระนาบ การวิเคราะห์ความเค้นผสม
สามารถแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิชากสศาสตร์ของแข็งได้ เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับแรงและความเค้น ความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียด  เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปของวัสดุภายใต้ภาระกรรมในแนวแกนเดียว  เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการบิดตัวของเพลากลมและเพลากลวงโมเมนต์  เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับแรงเฉือน และการโก่งตัวของคานที่แก้ปัญหาได้โดยทางสถิตศาสตร์ เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับความเค้นและความเครียดบนระนาบ และการวิเคราะห์ความเค้นผสม
คุณสมบัติของวัสดุทางด้านความเค้นและเครียดในขั้นพื้นฐาน การเปลี่ยนรูปของวัสดุภายใต้ภาระกรรมในแนวแกนเดียวการบิดตัวของเพลากลมและเพลากลวงโมเมนต์แรงเฉือน และการโก่งตัวของคาน ความเค้นจากการโก่งตัวของคานที่แก้ปัญหาได้โดยทางสถิติศาสตร์ความเค้นและความเครียดบนระนาบ การวิเคราะห์ความเค้นผสม
1
1. มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม รวมถึงศิลปวัฒนธรรม
2. มีวินัย  ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบขององค์กร
3. มีจรรยาบรรณและความรับผิดชอบทางวิชาการและวิชาชีพ
- บรรยาย
- ฝึกปฏิบัติจริง
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- การทำกิจกรรมนอกชั้นเรียน
- การทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- การเข้าชั้นเรียน
- การแสดงความเคารพต่อตนเอง อาจารย์ และสถานที่
1. มีความรู้ ความเข้าใจ และประยุกต์ใช้กับงานวิศวกรรมทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ
2. สามารถบูรณาการ วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในสาขาวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆ
- บรรยาย
- ทำแบบฝึกหัด
- ทดสอบ
- การทำกิจกรรมในชั้นเรียน
- การทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- การเข้าชั้นเรียน
1. สามารถศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของปัญหาและความต้องการ
2. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
- บรรยาย 
- ฝึกปฏิบัติจริง
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- การทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
1. สามารถปรับตัว ทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ร่วมงาน
- การทำงานกลุ่ม
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- การประเมินการทำงานเป็นกลุ่ม
- การประเมินการอภิปรายและนำเสนอ
1. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม
- บรรยาย 
- ถาม-ตอบ
- ทำแบบฝึกหัด
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- การทำงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2
1 31042201 กลศาสตร์ของแข็ง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 4.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมของคณะและมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 5.2 สอบกลางภาค 8 25%
4 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 5.2 สอบปลายภาค 17 25%
Hibbeler, R.C.  2005.  Mechanics of Materials. 2nd  edition.  Prentice-Hall Inc
มงคล จิรวัชรเดช.  2548.  กลศาสตร์วัสด.  อแมคกรอ-ฮิล.  กรุงเทพฯ.
-  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          -  แบบประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา
          -  สรุปผลการประเมินการสอน
          -  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
-  ผลการเรียนและผลการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
          -  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-  การประชุมเชิงปฏิบัติการอาจารย์ผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
          -  การวิจัยชั้นเรียน
          -  ประชุมอนุมัติเกรดนักศึกษา
-  ทวนจากคะแนน และงานที่มอบหมาย
          นำข้อมูลที่ได้จากการประเมิน ข้อ 1 และข้อ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอน