จุลชีววิทยาทั่วไป

General Microbiology

       1.1 เข้าใจความสำคัญและวิธีการศึกษาทางจุลชีววิทยา
        1.2 รู้และเข้าใจสัณฐานวิทยา และโครงสร้างของแบคทีเรีย
        1.3 รู้และเข้าใจการสืบพันธุ์  การเจริญเติบโตและการควบคุมของแบคทีเรีย
        1.4 รู้และเข้าใจการดำรงชีพ  เมทาบอลิซึมของแบคทีเรีย
        1.5 รู้การจำแนกแบคทีเรีย ฟังไจ ไวรัส ริคเก็ตเซียและแคลมัยเดีย 
        1.6 รู้และเข้าใจโรคและภูมิคุ้มกัน
        1.7 ประยุกต์ความรู้ไปใช้ให้สอดคล้องกับวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจทางด้านจุลชีววิทยาเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ด้วยวิทยาการเทคโนโลยีปัจจุบันได้มีความก้าวหน้าตลอดเวลา จึงควรมีการปรับปรุงรายวิชาให้สอดคล้องตามยุคสมัยและทันเหตุการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญและวิธีการศึกษาทางจุลชีววิทยา  สัณฐานวิทยา และโครงสร้างของแบคทีเรีย การจำแนกแบคทีเรีย  การดำรงชีพและเมทาบอลิซึมของแบคทีเรีย  การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ฟังไจ ไวรัส ริคเก็ตเซียและแคลมัยเดีย  โรคและภูมิคุ้มกัน จุลชีววิทยาประยุกต์
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การกำหนดข้อตกลงกฎเกณฑ์ร่วมกันให้มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
การสังเกต
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย ใช้สไลด์ประกอบ (power point)/คลิปวีดีโอ
การสอนแบบตั้งคำถาม
มอบหมายงานที่ให้ค้นคว้าประเด็นใหม่ ๆ ทางวิชาการ
ข้อสอบปรนัยและอัตนัย
การนำเสนองาน
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบตั้งคำถาม
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
ข้อสอบอัตนัยและปรนัย
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜ 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การสอนแบบอภิปรายกลุ่มใหญ่
การทำงานเป็นทีม
การสังเกต
š5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
˜ 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š 5.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
มอบหมายงานสืบค้นและนำเสนอข้อมูล
งานมอบหมาย
การนำเสนองานจากการสืบค้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 22034201 จุลชีววิทยาทั่วไป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1, 2.2 การสอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,17 20% 20%
3 3.1, 3.3 การมอบหมายงานค้นคว้ารายบุคคล การทดสอบย่อย 15,16 20%
4 4.1, 4.2 การมอบหมายทำงานกลุ่ม 15 20%
5 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 15,16 10%
1) นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ และปรีชา สุวรรณพินิจ. 2541. จุลชีววิทยาทั่วไป.พิมพ์ครั้งที่ 2.  สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ, 735 น.
2) Lansing  M.  Presscott,  John P. Harley,  Donald  A.  Klein.  1999. Microbiology. 4 ed. The  McGraw-Hill  Companies, Inc., U.S.A., 932 p.
 3) Tortora, G. J., Funke, B. R. and Case, C. L. 1997. Microbiology : an introduction. California:   
        Addison Wesley Longman, Inc
1)ณพพร ดำรงศิริ. (2550). ชีววิทยาเบื้องต้น. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 249 หน้า
2)Cecie Starr (2556). ชีววิทยา1. พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์. 907 หน้า
1.พิจารณาจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา 
2.พิจารณาจากผลการประเมินผู้สอน การแสดงความคิดเห็นของผู้เรียนผ่านงานมอบหมาย
1.1 มีช่องทางให้นักศึกษาประเมินผู้สอนผ่านเวปไซต์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
1.2 เปิดโอกาสให้นักศึกษาวิจารณ์การเรียนการสอนในภาคการศึกษานั้น ผ่านงานมอบหมาย
   เพิ่มแบบฝึกหัดท้ายบทเพื่อให้นักศึกษาสามารถสรุปประเด็นที่สำคัญของเนื้อหา
ทวนสอบจากการสอบหรืองานที่มอบหมาย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น เช่น ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะ