ระเบียบวิธีวิจัย

Research Methodology

๑. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการวิจัย
๒. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบวิธีวิจัยเบื้องต้น
๓. สามารถใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าในระดับที่สูงขึ้น
๔. ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมการในการทำวิจัย
๑. พัฒนาพื้นฐานการความรู้ทางระเบียบวิธีวิจัย
๒. พัฒนาทักษะการใช้หลักการวิจัยเป็นเครื่องมือในศึกษา ค้นคว้าในระดับที่สูงขึ้น
๓. มุ่งเน้นให้นักศึกษามีคุณธรรมจริยธรรมในการทำวิจัย
ศึกษาเกี่ยวกับหลักและทฤษฏีการวิจัย  ประเภทการวิจัย ระเบียบวิธีที่ใช้ในการวิจัยที่ถูกต้อง มีคุณธรรม และจริยธรรมในการทำวิจัย สามารถประยุกต์ใช้ในวิชาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
๑) [·] มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
                        ๒) [·] มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
                          ๓) [·] มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
                        ๔) [·] เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
                         ๕) [O]  มีความรักและหวงแหนวัฒนธรรมที่ดีงาม
๑) ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม โดยใช้ทักษะทางภาษา
๒) อภิปรายกลุ่ม
๓) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
๔) กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
๕) จัดให้มีโครงการทำบุญสาขาศิลปศาสตร์
๑) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง
เวลา
๒) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
๓) ไม่มีการทุจริตในการสอบ
๔) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
๕) การเข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการทำบุญสาขาศิลปศาสตร์
๑) [·] มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
๒) [·] สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการของสาขาวิชาที่ศึกษา
๓) [·] สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
๑) บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์งาน และมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง
๒) ให้ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
๓) นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๑) สอบย่อยระหว่างเรียนด้วยแบบทดสอบ
๒) ประเมินจากประสิทธิผลของการศึกษาค้นคว้า การรายงานการศึกษาค้นคว้า และงานที่มอบหมาย
๓) ทดสอบกลางภาค และปลายภาค
๔) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
๑) [·] มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
                        ๒) [·]  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
๑) บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
๒) การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงาน และนำเสนอผลการศึกษา
๑) สอบย่อย โดยข้อสอบเน้นการใช้ทักษะทางภาษา
๒) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
๑) [O] มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
๒) [O] มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
๓) [·] สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
๔) [·] สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
๑) มอบหมายงานกลุ่มในการศึกษาค้นคว้า
๒) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
๑) ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานกลุ่ม
๒) รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
๓) พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
๑) [O] สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
๒) [·] สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสม
๓) [O] สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๑) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
๒) นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
๑) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
๒) การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
 
 
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบย่อยครั้งที่ ๑ สอบกลางภาค การทดสอบย่อยครั้งที่ ๒ สอบปลายภาค 8,16 สอบ 30 แบบฝึกหัด 30 โครงร่าง 30 จิตพิสัย 10
กองวิจัยการศึกษา กรมวิชาการ. (2542). วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : คุรุสภา.
เกียรติสุดา ศรีสุข . (2545). ระเบียบวิธีวิจัย. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ดิลก บุญเรืองรอด. (2548). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก www.bansomdej.net/images/1200988898/Research%20Methodology.doc
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10 กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียง.
สุภางค์ จันทวานิช. (2549).วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั=งท>ี 14) กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบ
ต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับ พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้
๑) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
๒) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
๓) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (ข้อ ๔) กลุ่มอาจารย์ผู้สอนทบทวนเนื้อหาและกลยุทธ์การสอน แล้วนำเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนารายวิชา เพื่อเสนอต่อที่ประชุมกลุ่มอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาสรุปและวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพื่อนำเสนอภาควิชา / คณะ