กลศาสตร์ประยุกต์

Applied Mechanics

เข้าใจเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ เวกเตอร์ การเคลื่อนที่ในแนวตรง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงพื้นฐานทางฟิสิกส์ สมดุลสถิต ความยืดหยุ่น ความดัน ความหนาแน่น ความถ่วงจำเพาะ การเคลื่อนที่แบบมีคาบ งาน พลังงาน และ หลักการทำงานเครื่องกลอย่างง่าย มีทักษะในการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิทยาศาสตร์ ประยุกต์วิชากลศาสตร์ประยุกต์กับชีวิตประจำวัน วิชาชีพหรือเทคโนโลยีใหม่ๆได้

มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการเรียนในวิชาชีพต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับ ความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ เวกเตอร์ การเคลื่อนที่ในแนวตรง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงพื้นฐานทางฟิสิกส์ สมดุลสถิต ความยืดหยุ่น ความดัน ความหนาแน่น ความถ่วงจำเพาะ การเคลื่อนที่แบบมีคาบ งาน พลังงาน และ หลักการทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) แนะนำในห้องเรียน
2) อธิบาย ความหมาย ข้อดี ข้อเสีย จัดการแบ่งกลุ่มระดมความคิด
3) แนะนำและยกตัวอย่าง บอก ระเบียบการเข้าชั้นเรียน
4) แนะนำในห้องเรียน มีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ผู้อาวุโส
1) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา 
2) นำเสนอในชั้นเรียน และสอบข้อเขียน
3) ผลการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา  การทำงานร่วมกับผู้อื่น
4) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา 
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
2) กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ๆ นอกเวลาเรียน
3) อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน
รายงานงานตามหัวข้อที่รับมอบหมาย งานนำเสนอ สอบข้อเขียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติการ
1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1) ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ
2) การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด และนำเสนอ
1)  ทดสอบย่อย เพื่อวิเคราะห์แนวคิดทางวิชาการ
2) ประเมินระบบการทำแบบฝึกหัดและการนำเสนอ 
1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามรถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1) แนะนำในห้องเรียน
2) มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
3) มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4) อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
2) ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
3) ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา 
4) สอบข้อเขียน
1 ) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2)  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1) แนะนำในห้องเรียน
2) แนะนำให้นักศึกษาและวิธีการใช้พอสังเขป
3) สอนให้นักศึกษาได้ใช้คำภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยกรณ์
1) สังเกตพฤติกรรมจากการใช้เครื่องมือสื่อสาร
2) จากการมอบหมายงานและรายงานผลที่ส่ง
3) สังเกตจากการตอบหรือการส่งงานที่ต้องใช้การเขียนตอบ
สามารถพัฒนาและใช้ทักษะพิสัย ในแต่ขั้น ได้แก่  ขั้นการเลียนแบบ   ขั้นการปฏิบัติได้โดยลําพัง   ขั้นการปฏิบัติได้ถูกต้องแม่นยํา ขั้นการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและผสมผสาน ขั้นการปฏิบัติโดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
แนะนำวิธีการพัฒนาตัวเองด้านทักษะพิสัย อธิบายชี้ให้เห็นข้อดี
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย คะแนนจิตพิสัย 1-17 15 %
2 ความสามารถนำผลการเรียนรู้ ประยุกต์ใช้แก้โจทย์ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง แบบฝึกหัดหลังบทเรียน ส่งตรงตามกำหนด และสามารถแสดงวิธีทำได้ถูกต้อง 1-17 15 %
3 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ มีพัฒนาการด้านทักษะพิสัย รายงานผลการทดลอง ปฏิบัติการกลศาสตร์ประยุกต์ ส่งงานตามกำหนดเวลา มีการนำเสนอที่เป็นไปตามกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์ 1-15 20 %
4 สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนมา ไปใช้แก้โจทย์ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ เวกเตอร์ การเคลื่อนที่ในแนวตรง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงพื้นฐานทางฟิสิกส์ สมดุลสถิต สอบกลางภาค 8 20 %
5 สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนมา ไปใช้แก้โจทย์ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความยืดหยุ่น ความดัน ความหนาแน่น ความถ่วงจำเพาะ การเคลื่อนที่แบบมีคาบ งาน พลังงาน และ หลักการทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย สอบปลายภาค 17 20 %
6 พัฒนาการด้านทักษะพิสัย การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน การนำเสนอ อภิปรายผลการปฏิบัติการ แบบเป็นกลุ่มหน้าชั้นเรียน และ ทำข้อสอบปฏิบัติการ 17 10 %
เอกสารประกอบการสอน วิชากลศาสตร์ประยุกต์ โดย อาจารย์นิวัติ  จันต๊ะมา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา
คู่มือปฏิบัติการ วิชากลศาสตร์ประยุกต์ โดย อาจารย์นิวัติ  จันต๊ะมา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา
ไม่มี
ไม่มี
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป