การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
Educational Measurement and Assessment
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
2. เพื่อให้สามารถวางแผนการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ได้
3. เพื่อให้สามารถออกแบบและพัฒนาเครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้
4. เพื่อให้สามารถนำผลการวัดและประเมินการเรียนรู้ไปปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และหลักสูตรได้
5. เพื่อให้มีความตระหนักในจรรยาบรรณของนักวัดและประเมินผลการศึกษา
1. พัฒนาสื่อการเรียนการสอน
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ แนวคิดและแนวปฏิบัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน จุดประสงค์ การเรียนรู้ การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ คุณสมบัติของเครื่องมือวัดผล การ วิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือวัดผล การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินตามสภาพจริง นำผลการ ประเมินไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนและการประเมินโครงการ
1. อาจารย์ประจำรายวิชาให้นักศึกษาติดต่อโดยตรงและติดต่อสื่อสารผ่านทางสื่ออิเลคทรอนิกส์
2. อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการและความเหมาะสม
1. ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. สามารถแก้ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรมและวิชาชีพโดยคำนึงถึง สิทธิมนุษยชน ค่านิยม พื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ
3. ความรับผิดชอบและซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่ ทั้งในด้านวิชาการ วิชาชีพ ชุมชน และสงัคม
4. เป็นแบบอยางที่ดีต่อผู้อื่นทั้งในด้านการดำรงตนและการปฏิบัติงาน
บรรยาย ตั้งคำถาม อภิปรายกลุ่ม
วิเคราะห์งานวัดและประเมินผลทางการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรม
1. พฤติกรรมการเข้าเเรียนและการทำกิจกรรม
2. ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
3. ประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม การปฏิบัติงานวัดและประเมินผลทางการเรียนรู้
4. ประเมินจากการอ้างอิงอย่างเหมาะสมและถูกต้องของรายงาน
5. ประเมินร่วมกันระหว่างผู้สอนและการประเมินตนเองของผู้เรียน
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
2. สามารถวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้
3. สามารถออกแบบและพัฒนาเครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้
4. สามารถนำผลการวัดและประเมินการเรียนรู้ไปปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และหลักสูตรได้
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การทำกิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์งานวัดและประเมินผลทางการเรียนรู้ การมอบหมายงาน
1. ทดสอบย่อย
2. ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 3. การตอบคำถาม 4. รายงาน 5. การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปราย ผลการวิเคราะห์ และการทำกิจกรรม
2. ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 3. การตอบคำถาม 4. รายงาน 5. การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปราย ผลการวิเคราะห์ และการทำกิจกรรม
1. ตระหนักรู้ในศักยภาพของตน เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถที่นำไปสู่การแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
2. สามารถสืบค้นทำความเข้าใจ วิเคราะห์ และประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และนำขอ้มูลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ
3. สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจอันถ่องแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มีคุณภาพในการทำงาน
4. สามารถพัฒนาวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไป โดยคำนึงถึงความรู้และผลกระทบจากการตัดสินใจ
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การกิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์งานวัด และประเมินผลทางการเรียนรู้ การมอบหมายงาน
การตอบคำถาม
รายงาน
การนำ เสนองาน/นำเสนอผลการทำกิจกรรม การอภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. มีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2. สามารถทำงานเป็นทีมในบทบาทผู้นำ และสมาชิกกลุ่มในบริบทหรือสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
3. สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี ในสถานการณ์ที่หลากหลายและสถานการณ์เฉพาะหน้า
4. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาตนเององค์การและสังคมอย่างต่อเนื่อง
บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม ตั้งคำถาม มอบหมายงาน การนำเสนอผลงาน
การตอบคำถาม
รายงาน
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการทำกิจกรรม อภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. สามารถสื่อสารทั้งการฟัง พดู เขียน ทำรายงานและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการิเคราะห์ แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
3. สามารถสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเพื่อทำรายงาน เตรียมและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
บรรยาย การทำกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงาน
รายงาน
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการทำกิจกรรม อภิปราย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1-4.2 3.1-3.4 5.1-8.2 | สอบกลางภาค การทดสอบย่อย สอบปลายภาค | 9 15 17 | 25% 15% 25% |
2 | 1.3-6.7 6.6-6.7 8 | การมีส่วนร่วมอภิปราย/การตอบคำถาม การวิเคราะห์และการนำเสนอ การทำรายงาน/งานกลุ่มและผลงาน และการนำเสนอ | ตลอดภาคการศึกษา | 25% |
3 | 1.1–8.2 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรม | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
Miller, M. David; Linn, Robert L. & Gronlund, Norman E. (2009). Measurement and Assessment in Teaching. 10th ed.
NJ: Pearson Education Ltd.
NJ: Pearson Education Ltd.
ชวาล แพรัตกลุ. (2552). เทคนิคการวัดผล. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ.
ชวลิต ชูกาแพง. (2550). การประเมินการเรียนรู้. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2545). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เฮ้าส์
ออฟ เคอร์มีสท์.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเฉพาะ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์
ครั้งที่ 3 นนทบุรี: มสธ.
________. (2545). การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเฉพาะ หน่วยที่ 9-15. พิมพ์ครั้งที่ 3 นนทบุรี:
มสธ.
________. (2548). ประสบการณ์วิชาชีพการวัดและประเมินผลการศึกษา. หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 4 นนทบุรี: มสธ.
________. (2548). ประสบการณ์วิชาชีพการวัดและประเมินผลการศึกษา. หน่วยที่ 9-15. พิมพ์ค์รัง
ที่ 4 นนทบุรี: มสธ.
ราตรี นันทสุคนธ์. (2553). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา (ฉบับปรับปรุง). สุราษฎร์ธานี: คณะ
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
วิรัช วรรณรัตน์. (2539). การวัดและประเมินผลการศึกษา. สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทิวัตถ์ มณีโชติ. (2549). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
ภัทรา นิคมานนท์. (2540). การประเมินผลการเรียน. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์จํากัด.
สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธนะ. (2544). การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการประเมินตามสภาพจริง.
เชียงใหม่: The Knowledge Center.
ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2558) . การแปลความหมายคะแนน. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 62.
จาก www.watpon.com.
พวงแก้ว ปุณยกนก. (2546). “การประเมินพุทธิพิสัย” ใน รวมบทความการประเมินผลการเรียนรู้.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ โพธิสาร. (มปป). “ระดับคะแนน” ในการวัดผลและประเมินผลการศึกษาสารานุกรม
ศึกษาศาสตร์. กรุงเทพฯ: ก๊อปปี้ แอนด์ พริ้นท์.
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง. (2546). “การประเมินจิตพิสัย” ในการประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2549). การวัดผลและการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงการณ์
มหาวิทยาลัย.
ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2556). การวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. อุดรธานี: โรง
พิมพ์อักษรณ์ศิลป์.
สมนึก ภัททิยธนี. (2545). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2535). “ความรู้พื้นฐานสําหรับการประเมินโครงการทางการศึกษา” ในรวม
บทความทางการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2546). การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนทร คําโตนด. (2531). การสร้างแบบทดสอบ. อุดรธานี: คณะวิชาครุศาสตร์ วิทยาลัยครูอุดรธานี.
สุนันท์ ศลโกสุม. (มปป). การทดสอบภาคปฏิบัติ ในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา สารานุกรม
ศึกษาศาสตร์ อันดับที่ 3. กรุงเทพฯ :ก๊อปปี้ แอนด์ พริ้นท์.
เอมอร จังศิริพรปกรณ์ .(2546). “การประเมินผลการเรียนรู้” ในการประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.
อเนก เพียรอนุกุลบุตร. (2527). การวัดและประเมินผลทางพลศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
อำนวย เลิศชยันตี. (2542). การประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศิลป์สนองการพิมพ์.
B.S. & Others. (1956). Taxonomy of Ecucational Objectives, Handbook : Cognitive Domian. New York : Mckay.
Bloom, Benjamin. S . (1979). Taxonomy of Educational Objectives: The Classification of
Goals, Handbook Cognitive Domain. Longman Inc.
Cohen, Ronald Jay. (2010). Psychological Testing and Assessment An Introduction to
Tests & Measurement. 7th ed. New York: McGraw–Hill.
D. charles & Antes. ,C. Richard. (1990). Classroom measurement and Evaluation.
IIIinois : Publishers, nc.
Ebel, R. L. & Frisbie, D. A. (1986). Essentials for Educational Measurement. New
Jersey: Printice – Hall Inc.
Farr, R. &Tone, B. (1994). Portfolio and Performance Assessment. Fort Worth.TX :
Harcourt Brace & Company.
Gedye, Sharon. (2009, January). Formative assessment and feedback a review. Planet
Issue. 23(1): 40 – 44.
G.F & John A.Upshur. (1996). “Portfolio and Conference. “Classroom- Base
Evaluation in Secound Language Education. NewYork : Cambridge University
Press.
Gipps, Caroline V. (2012). Beyond testing : towards a theory of educational assessment.
New York: Routledge.
Gronlund, N. E. (1985). Measurment and Evaluation in Teaching. 5th ed. New York :
McMillan Publishing Co.,Inc.
N. E. & Linn, R. L. (1990). Measurement and Evaluation in Teaching. 6th Ed. York :
Macmillan Publishing Company.
Herrera, Socorro G.; Murry, Kevin G. & Cabral, Robin M. (2007). Assessment
Accommodations for Classroom Teachers of Culturally and Linguistically Diverse
Students. Boston: Pearson Education Ltd.
Hopkins, Charles D.; & Antes, Richard L. (1990). Classroom measurement and . 3rd ed.
Itasca: Peacock.
Hou, Likun, de la Torre, Jimmy; & Nandakumar, Ratna. (2014, March–June). The
Random Effect DINA model. Journal of Educational Measurement. 51(1): 75 – 97.
Lin, Robert L. (1995). Measurement and Assessment in Teaching. 7th ed. NJ: Pearson
Education Ltd.
Marshall, J.C. & Hales, L.W. (1972). Essential of Testing. London: Addition-Wesley
Pulishing.
Miller, M. David; Linn, Robert L. & Gronlund, Norman E. (2009). Measurement and
Assessment in Teaching. 10th ed. NJ: Pearson Education Ltd.
Nitko, Anthony J. (2004). Educational Assessment of Students. 4th ed. NJ: Pearson
Education Ltd.
Nitko, A.J. (2007). Educational Assessment of Students. Englewood Cliffs, N.J : Prentice
Hall, Inc.
Ronald, Reynold B.; & Wilson, Livingston Victor. (2009). Measurement and Assessment
in Education. 2nd ed. New Jersey: Pearson Education.
Scannell & Tracy. (1975). Testing and Measurement in the classroom . Boston :
Houghton Mifflin Co.
Stanley,J.C. & Hopkin K.D. (1972). Educational and Psychological Measurement and
Evaluation. New Jersey : Hall,Inc. Hopkins.
โรฒ.
ชวลิต ชูกาแพง. (2550). การประเมินการเรียนรู้. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2545). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เฮ้าส์
ออฟ เคอร์มีสท์.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเฉพาะ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์
ครั้งที่ 3 นนทบุรี: มสธ.
________. (2545). การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเฉพาะ หน่วยที่ 9-15. พิมพ์ครั้งที่ 3 นนทบุรี:
มสธ.
________. (2548). ประสบการณ์วิชาชีพการวัดและประเมินผลการศึกษา. หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 4 นนทบุรี: มสธ.
________. (2548). ประสบการณ์วิชาชีพการวัดและประเมินผลการศึกษา. หน่วยที่ 9-15. พิมพ์ค์รัง
ที่ 4 นนทบุรี: มสธ.
ราตรี นันทสุคนธ์. (2553). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา (ฉบับปรับปรุง). สุราษฎร์ธานี: คณะ
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
วิรัช วรรณรัตน์. (2539). การวัดและประเมินผลการศึกษา. สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทิวัตถ์ มณีโชติ. (2549). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
ภัทรา นิคมานนท์. (2540). การประเมินผลการเรียน. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์จํากัด.
สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธนะ. (2544). การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการประเมินตามสภาพจริง.
เชียงใหม่: The Knowledge Center.
ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2558) . การแปลความหมายคะแนน. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 62.
จาก www.watpon.com.
พวงแก้ว ปุณยกนก. (2546). “การประเมินพุทธิพิสัย” ใน รวมบทความการประเมินผลการเรียนรู้.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ โพธิสาร. (มปป). “ระดับคะแนน” ในการวัดผลและประเมินผลการศึกษาสารานุกรม
ศึกษาศาสตร์. กรุงเทพฯ: ก๊อปปี้ แอนด์ พริ้นท์.
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง. (2546). “การประเมินจิตพิสัย” ในการประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2549). การวัดผลและการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงการณ์
มหาวิทยาลัย.
ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2556). การวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. อุดรธานี: โรง
พิมพ์อักษรณ์ศิลป์.
สมนึก ภัททิยธนี. (2545). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2535). “ความรู้พื้นฐานสําหรับการประเมินโครงการทางการศึกษา” ในรวม
บทความทางการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2546). การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนทร คําโตนด. (2531). การสร้างแบบทดสอบ. อุดรธานี: คณะวิชาครุศาสตร์ วิทยาลัยครูอุดรธานี.
สุนันท์ ศลโกสุม. (มปป). การทดสอบภาคปฏิบัติ ในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา สารานุกรม
ศึกษาศาสตร์ อันดับที่ 3. กรุงเทพฯ :ก๊อปปี้ แอนด์ พริ้นท์.
เอมอร จังศิริพรปกรณ์ .(2546). “การประเมินผลการเรียนรู้” ในการประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.
อเนก เพียรอนุกุลบุตร. (2527). การวัดและประเมินผลทางพลศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
อำนวย เลิศชยันตี. (2542). การประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศิลป์สนองการพิมพ์.
B.S. & Others. (1956). Taxonomy of Ecucational Objectives, Handbook : Cognitive Domian. New York : Mckay.
Bloom, Benjamin. S . (1979). Taxonomy of Educational Objectives: The Classification of
Goals, Handbook Cognitive Domain. Longman Inc.
Cohen, Ronald Jay. (2010). Psychological Testing and Assessment An Introduction to
Tests & Measurement. 7th ed. New York: McGraw–Hill.
D. charles & Antes. ,C. Richard. (1990). Classroom measurement and Evaluation.
IIIinois : Publishers, nc.
Ebel, R. L. & Frisbie, D. A. (1986). Essentials for Educational Measurement. New
Jersey: Printice – Hall Inc.
Farr, R. &Tone, B. (1994). Portfolio and Performance Assessment. Fort Worth.TX :
Harcourt Brace & Company.
Gedye, Sharon. (2009, January). Formative assessment and feedback a review. Planet
Issue. 23(1): 40 – 44.
G.F & John A.Upshur. (1996). “Portfolio and Conference. “Classroom- Base
Evaluation in Secound Language Education. NewYork : Cambridge University
Press.
Gipps, Caroline V. (2012). Beyond testing : towards a theory of educational assessment.
New York: Routledge.
Gronlund, N. E. (1985). Measurment and Evaluation in Teaching. 5th ed. New York :
McMillan Publishing Co.,Inc.
N. E. & Linn, R. L. (1990). Measurement and Evaluation in Teaching. 6th Ed. York :
Macmillan Publishing Company.
Herrera, Socorro G.; Murry, Kevin G. & Cabral, Robin M. (2007). Assessment
Accommodations for Classroom Teachers of Culturally and Linguistically Diverse
Students. Boston: Pearson Education Ltd.
Hopkins, Charles D.; & Antes, Richard L. (1990). Classroom measurement and . 3rd ed.
Itasca: Peacock.
Hou, Likun, de la Torre, Jimmy; & Nandakumar, Ratna. (2014, March–June). The
Random Effect DINA model. Journal of Educational Measurement. 51(1): 75 – 97.
Lin, Robert L. (1995). Measurement and Assessment in Teaching. 7th ed. NJ: Pearson
Education Ltd.
Marshall, J.C. & Hales, L.W. (1972). Essential of Testing. London: Addition-Wesley
Pulishing.
Miller, M. David; Linn, Robert L. & Gronlund, Norman E. (2009). Measurement and
Assessment in Teaching. 10th ed. NJ: Pearson Education Ltd.
Nitko, Anthony J. (2004). Educational Assessment of Students. 4th ed. NJ: Pearson
Education Ltd.
Nitko, A.J. (2007). Educational Assessment of Students. Englewood Cliffs, N.J : Prentice
Hall, Inc.
Ronald, Reynold B.; & Wilson, Livingston Victor. (2009). Measurement and Assessment
in Education. 2nd ed. New Jersey: Pearson Education.
Scannell & Tracy. (1975). Testing and Measurement in the classroom . Boston :
Houghton Mifflin Co.
Stanley,J.C. & Hopkin K.D. (1972). Educational and Psychological Measurement and
Evaluation. New Jersey : Hall,Inc. Hopkins.
1.1 นักศึกษาประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชา
1.2 นักศึกษาเป็นผู้สะท้อนคิด (Reflective Journal)
1.2 นักศึกษาเป็นผู้สะท้อนคิด (Reflective Journal)
2.1 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
2.2 ผลงานและการนำเสนอ
2.4 ผลการทดสอบ
2.2 ผลงานและการนำเสนอ
2.4 ผลการทดสอบ
3.1 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชา
3.2 ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน
3.3 พัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.2 ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน
3.3 พัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ใช้หลักการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียน ผลงาน และผลการทดสอบ ร่วมกับให้นักศึกษาตรวจสอบผลการเรียนรู้ของตนเองและประเมินตนเอง
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3-5 ปี
5.2 สัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกเพื่อหาแนวทางในการวางแผนปรับปรุงรายวิชา
5.2 สัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกเพื่อหาแนวทางในการวางแผนปรับปรุงรายวิชา