ปฏิบัติงานเทคนิคก่อสร้าง 1

Construction Techniques Workshop 1

รู้ – เข้าใจในชนิดและหน้าที่ของเครื่องมือพื้นฐาน การใช้เครื่องมือวัดระยะและร่างแบบ การใช้เครื่องมือตัด เจาะและทำเกลียว การใช้เครื่องมือจับยึดและยึดตรึง การใช้เครื่องมือไสและตกแต่ง การช้เครื่องมือและอุปกรณ์งานเคลือบผิว มีกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานใช้เครื่องมือ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญา  ในการนำความรู้ ความเข้าใจ          และทักษะในการปฏิบัติงานด้านทักษะวิชาชีพ   เพื่อเป็นพื้นฐาน การเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานงานไม้ การใช้บำรุงรักษาและความปลอดภัย  การฝึกทักษะในงานวัดระยะ งานตัด-ผ่า งานไส งานเจาะ งานต่อไม้-เข้าไม้ งานเพลาะ-เสริมไม้ การประกอบและตกแต่งพื้นผิวงานด้วยวัสดุเคลือบผิวต่างๆ รวมกับการใช้เครื่องมือทางไฟฟ้าสำหรับงานไม้
ไม่มี
1. คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ วิธีการสอน 
การเข้าเรียนตรงเวลาเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตามเวลาที่กำหนด 1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1   มีการเช็คชื่อก่อนเข้าเรียนและหลังเลิกเรียนทุกครั้ง
1.3.2   กำหนดคะแนนการเข้าเรียนได้ทันเวลา ไม่ลา ไม่ขาด หรือสาย ไว้ 20%
1.3.3   การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.3.4   ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างปลอดภัย 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักปฏิบัติในพื้นฐานการปฏิบัติงาน  เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานที่เกี่ยวข้อง
สอนโดยการบรรยายประกอบ Power  Point การสาธิตและให้ฝึกปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย จัดกิจกรรมการเรียนที่ต้องใช้ศาสตร์อื่นๆเข้ามาเกี่ยวข้อง
1.3.1   มีการเช็คชื่อก่อนเข้าเรียนและหลังเลิกเรียนทุกครั้ง
1.3.2   กำหนดคะแนนการเข้าเรียนได้ทันเวลา ไม่ลา ไม่ขาด หรือสาย ไว้ 20%
1.3.3   การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.3.4   ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างปลอดภัย
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักปฏิบัติในพื้นฐานการปฏิบัติงาน  เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานที่เกี่ยวข้อง
สอนโดยการบรรยายประกอบ Power  Point การสาธิตและให้ฝึกปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย จัดกิจกรรมการเรียนที่ต้องใช้ศาสตร์อื่นๆเข้ามาเกี่ยวข้อง
2.3.1   ทดสอบปฏิบัติ สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2   ประเมินจากการงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3    สังเกตจากการฝึกปฏิบัติงาน
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
การมอบหมายการฝึกปฏิบัติตามแบบที่กำหนด
สังเกตพฤติกรรมการฝึกปฏิบัติงานในการประยุกต์การนำทักษะพื้นฐานมาใช้ในฝึกปฏิบัติ
4.1  ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.3.2  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1  มอบหมายงานให้ปฏิบัติเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2 – 3 คน
4.2.2  ให้มีกิจกรรมร่วมกับชุมชน
4.3.1  สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่มในการแก้ปัญหา
4.3.2  สังเกตพฤติกรรมการวางตัวและมารยาทในสังคม
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
5.2.1  มอบหมายให้ค้นคว้าศึกษาเนื้อวิชาตามหัวข้อที่มอบหมาย
5.3.1  สามารถค้นคว้าส่งงานด้วยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
5.3.2  สามารถนำเสนองานที่มอบหมายให้ค้นคว้าด้วยโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.1  ด้านทักษะพิสัยที่ต้องได้รับการพัฒนา
6.1.1  มีทักษะการบริหารจัดการในด้านเวลา  เครื่องมือ  อุปกรณ์และวิธีการใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2.1   การมอบหมายการฝึกปฏิบัติตามแบบที่กำหนด
3.3.1   สังเกตการฝึกปฏิบัติงานในการใช้เครื่องมือ  อุปกรณ์ได้เหมาะสมกับลักษณะงาน
3.3.2    ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายตามใบงานได้ตามเวลาที่กำหนดได้อย่างปลอดภัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.3 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ 1.2.2 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตามเวลาที่กำหนด 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักปฏิบัติในพื้นฐานการปฏิบัติงาน เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานที่เกี่ยวข้อง 1.2.2 การสาธิตและให้ฝึกปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย 1.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนที่ต้องใช้ศาสตร์อื่นๆเข้ามาเกี่ยวข้อง 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.2.1 การมอบหมายการฝึกปฏิบัติตามแบบที่กำหนด 4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.3.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.2.1 มอบหมายงานให้ปฏิบัติเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2 – 3 คน 4.2.2 ให้มีกิจกรรมร่วมกับชุมชน 5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.2.1 มอบหมายให้ค้นคว้าศึกษาเนื้อวิชาตามหัวข้อที่มอบหมาย 6.1.1 มีทักษะการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2.1 การมอบหมายการฝึกปฏิบัติตามแบบที่กำหนด
1 TEDCV016 ปฏิบัติงานเทคนิคก่อสร้าง 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 60:20:20
Woodworking  Technology
เทคนิคงานไม้และก่อสร้าง
งานฝึกฝีมือพื้นฐานงานช่างเบื้องต้น
กสารประกอบการสอนวิชาปฏิบัติงานเทคนิคก่อสร้าง 1                       
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา ปฏิบัติงานเทคนิคก่อสร้าง 1  และเทคนิคงานฝึกฝีมือเบื้องต้น                                     
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ