ปฏิบัติการพันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช

Laboratory in Genetics and Plant Breeding

- มีทักษะเกี่ยวกับความน่าจะเป็น ,พันธุศาสตร์ของเมนเดล, พันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่,พันธุศาสตร์ประชากรยีนที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน และสารพันธุกรรมของพืช
- มีทักษะทางด้านการสืบพันธุ์ของพืชการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง ,การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม และเทคนิคการผสมพันธุ์ในพืชบางชนิด
- ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
 
ปฏิบัติการเกี่ยวกับความน่าจะเป็นพันธุศาสตร์ของเมนเดลพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่พันธุศาสตร์ประชากรยีนที่ไม่เป็นอิสระต่อกันสารพันธุกรรมการสืบพันธุ์ของพืชการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเองการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้ามและเทคนิคการผสมพันธุ์ในพืชบางชนิด
- จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ3ชั่วโมงโดยอาจารย์จะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบ
-มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
-มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

 
- มีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหาโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายและมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
- ร้อยละ90ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ90ของนักศึกษาปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
-มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 
 
 
 

            
- การบรรยายยกตัวอย่างกรณีศึกษาการคิดวิเคราะห์ถาม-ตอบในชั้นเรียน
- นักศึกษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการค้นคว้า/สืบค้นข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานนำเสนอในชั้นเรียน
- งานมอบหมายให้นักศึกษานำหลักการด้านวิทยาศาสตร์และศิลป  ตลอดจนเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นพื้นฐานเพื่อการเรียนรู้หลักการทางด้านการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์พืชใหม่
- ทดสอบโดยข้อเขียนและการประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
              - ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- มีทักษะการปฏิบัติจากากรประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
 
- ฝึกให้คิด วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วโดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่างๆรวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
- ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ปัญหาทางการเพาะปลูกพืชและ/หรือพันธุ์พืชในปัจจุบันและแนวทางการปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อแก้ปัญหาเหล่านั้นได้  โดยอ้างอิงหลักการและทฤษฎีได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมโดยจะต้องมีหลักฐานและกรณีศึกษา เพื่อการอ้างอิง
- เชิญผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐภายนอกมหาวิทยาลัยมาสอนหรือศึกษาดูงานสถานประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐ
 - ทดสอบโดยข้อเขียนและสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
 - ดูจากรายงานการนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
-มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีปะสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม

 
 
6
 
 
 
- มอบหมายงานเป็นกลุ่มฝึกทักษะการเป็นผู้นำกลุ่มและสมาชิกที่ดีโดยมีการสลับกันเป็นหัวหน้ากลุ่มในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
- ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มหรือโครงงานในลักษณะของการทำงานเป็นทีม
- ประเมินจากกระบวนการทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 
 
- โครงงานที่มอบหมายจะมีส่วนที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์เชิงปริมาณเช่นกฎของเมนเดลทฤษฎีความน่าจะเป็นและพันธุศาสตร์ประชากร
- มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียนพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ ภาษาที่ถูกต้องชัดเจนและกระชับ
- ในการค้นคว้านั้นส่วนหนึ่งนักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ
- ในการนำเสนอนั้นควรใช้ PowerPointหรือแผ่นใส หรือ รูปแบบอื่นที่เหมาะสม
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
- ประเมินจากภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
- ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบโดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลขกราฟหรือตาราง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 งานมอบหมายรายกลุ่ม 7 25 7 25
2 สอบกลางภาค 8 20
3 งานมอบหมายรายบุคคล 16 25
4 สอบปลายภาค 17 20
5 จิตพิสัย ในวิชา 4 ส่วนกลาง 6 ตลอดภาคการศึกษา 10
พัชราภรณ์ บัวเปรม.2554. เอกสารการสอนรายวิชา 21011313ปฏิบัติการพันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก, พิษณุโลก.
ไพศาล เหล่าสุวรรณ.  2523.  พันธุศาสตร์.  ไทยวัฒนาพานิช,กรุงเทพมหานคร .  342 หน้า.
กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2528. ปรับปรุงพันธุ์พืช.  ไทยวัฒนาพาณิช,  กรุงเทพฯ.  155น.
กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2544.  ปรับปรุงพันธุ์พืช : ความหลากหลายของแนวคิด.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 272น.
นพพร สายัมพร. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261น.
นิตย์ศรี  แสงเดือน. 2536. พันธุศาสตร์พืช. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัย-เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 315น.
ประดิษฐ์  พงษ์ทองคำ. 2543. พันธุศาสตร์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 398น.
ประดิษฐ์ พงศ์ทองคำ. 2550. พันธุศาสตร์ประชากรและปริมาณ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.215น.
ประภา  ศรีพิจิตต์. 2534. เซลล์พันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 254น. 
พีระศักดิ์   ศรีนิเวศน์. 2525. พันธุศาสตร์ปริมาณที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 179น. 
ไพศาล   เหล่าสุวรรณ. 2535. พันธุศาสตร์. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ. 342น.
วิทยา   บัวเจริญ. 2527. หลักการผสมและปรับปรุงพันธุ์พืช. กรุงสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 169หน้า.
สมชัย  จันทร์สว่าง และพีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์. 2546. พันธุศาสตร์ประชากร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 210น.
สุทัศน์  ศรีวัฒนพงศ์. 2552. การปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 259น.
เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ และ พีระศักดิ์  ศรีนิเวศน์. 2529. การปรับปรุงพันธุ์พืชเศรษฐกิจของประเทศไทย. กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ. 381น.
เจริญศักดิ์  โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์. 2527. การปรับปรุงพันธุ์พืชชั้นสูง. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ฯ, กรุงเทพฯ. 161น.
ชยพร   แอคะรัจน์. 2544. หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช(ภาคทฤษฎีและปฏิบัติการ). สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตกาฬสินธุ์,  กาฬสินธุ์. 197น.
ชำนาญ  ฉัตรแก้ว. 2534. การปรับปรุงพันธุ์พืชชั้นสูง I. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 207 น.
ทวีศักดิ์   ภู่หลำ.  2540.  ข้าวโพดหวาน :การปรับปรุงพันธุ์และการปลูกเพื่อการค้า.โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์,  กรุงเทพมหานคร.  188น.
ทิพย์วดี   อรรถธรรม. 2543. ฝ้ายจำลองพันธุ์ต้านทานต่อหนอนเจาะสมอฝ้าย, 121-127น. ใน เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืช ครั้งที่ 13เทคโนโลยีใหม่พันธุ์พืชใหม่ ระหว่าง 13-14กุมภาพันธุ์ 2543, โรงแรมมารวย การ์เด้นกรุงเทพฯ.
บุญหงษ์ จงคิด.  2548. หลักและเทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  186 น.
ประภา  ศรีพิจิตต์  และ เสาวณีย์  ตังสกุล . 2543. การสกัดและเพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์ของข้าวหอม (Oryza  sativa L.) พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105. วิชาการเกษตร. 18(2): 188-197
พิสวรรณ   เจียมสมบัติ. 2543. พริกจำลองพันธุ์ที่ต้านทานไวรัส, น.  112-115.ใน เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืช ครั้งที่ 13เทคโนโลยีใหม่-พันธุ์พืชใหม่ ระหว่าง 13-14กุมภาพันธุ์ 2543, โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพฯ.
รังสฤษฏ์   กาวีต๊ะ. 2540. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช: หลักการและเทคนิค. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 219น.
ราเชนทร์   ถิรพร. 2539. ข้าวโพด  การผลิต การใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ปัญหา และการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร. ด่านสุทธาการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 274น.
วันชัย จันทร์ประเสริฐ.  2542. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภาควิชาพืชไร่-นา  คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 276น.
วาสนา  วงษ์ใหญ่  อุดม  พูลเกษรังสฤษฎ์  กาวีต๊ะ และ วิทยา  แสงแก้วสุข. 2541. พฤกษศาสตร์พืชเศรษฐกิจ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 220น.
 
 
 
สนธิชัย   จันทร์เปรม. 2543. เทคนิคการถ่ายยีนกับการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย, น.105-111.ใน เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืช ครั้งที่ ๑๓เทคโนโลยีใหม่-พันธุ์พืชใหม่ ระหว่าง 13-14กุมภาพันธุ์ 2543, โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพฯ.
สมบุญ   เตชะภิญญาวัฒน์. 2538. สรีรวิทยาของพืช. พิมพ์ครั้งที่ 3. รั้วเขียว, กรุงเทพฯ. 213น.
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2537. พฤกษศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3.รั้วเขียว, กรุงเทพฯ.277น.
สมวงษ์   ตระกูลรุ่ง. 2543. การใช้ดีเอ็นเอเทคโนโลยีในประเทศไทย, น. 90-104.ใน เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืช ครั้งที่ 13เทคโนโลยีใหม่-พันธุ์พืชใหม่ ระหว่าง 13-14กุมภาพันธุ์ 2543, โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพฯ.
4.ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ , เว็บไซด์
http:///www.doa.go.th
http://www.doae.go.th/
http:///www.rspg.thaigov.net
http://kanchanapisek.or.th/
http://fac.plc.rmutl.ac.th/eclass/
5.. เอกสารและข้อมูลการเรียนอื่นๆ
- การใช้โปรแกรมWord,Excel, Power point เพื่อทำงานมอบหมาย
- การใช้งานอินเตอร์เน็ต (internet) เพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่วิธีการสอนการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
 
 
 
 
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียนนอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน-การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนโดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
 
 
 
 
 
-  สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชาการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุง
พร้อมนำเสนอสาขาวิชาหรือคณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป
- การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข