วิทยาศาสตร์กับชีวิต

Science and Life

1.1  รู้การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.2  เข้าใจการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
1.3  รู้เกี่ยวกับรังสีจากดวงอาทิตย์และสารกัมมันตรังสี
1.4  เข้าใจหลักการทำงาน ดูแลรักษาเครื่องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน
1.5  เข้าใจผลกระทบของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมือง และวัฒนธรรม
1.6  มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
1.7  รู้ทันวิทยาการ ความก้าวหน้า และสามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวันและในวิชาชีพอย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ในรายวิชาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้มีการติดตามความก้าวหน้า และการยกตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มของวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องตามยุคสมัย โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web based เพื่อสามารถเชื่อมโยงความรู้ในรายวิชา
การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน และผลกระทบของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม รังสีจากดวงอาทิตย์และสารกัมมันตรังสี เครื่องใช้ และอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน ผลกระทบของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์สภาพแวดล้อม สังคม การเมือง และวัฒนธรรม
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำนอกชั้นเรียน สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง ผ่านช่องทาง ดังนี้
    3.1  อาคารสาขาวิทยาศาสตร์ ห้อง 821 โทร. 0861839988  วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 17.00 น.
    3.2  e-mail : visutthithada_runvi@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
    3.3  Facebook : Aj Viran เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
   3.4  line : kobzazaa เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
     1.1.1 มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
     1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
     1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
     1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
     1.2.1 ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
     1.2.2 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
     1.2.3 การเรียนรู้โดยมอบหมายงานหรือโจทย์ปัญหาแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
     1.2.4 การทำข้อสอบหรือแบบทดสอบ
 
     1.3.1 แบบเช็คการส่งงานที่มอบหมาย
     1.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
     1.3.3 ใบเช็คชื่อการเข้าเรียน
     2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
     2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
     2.2.1 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
     2.2.2 การสอนแบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา
     2.2.3 การสอบแบบตั้งคำถามหรือถาม-ตอบให้คิดวิเคราะห์
     2.2.4 การทดสอบความรู้ (แบบทดสอบหรือการถาม-ตอบปากเปล่า)
     2.2.5 การเรียนรู้จากการศึกษาด้วยต้นเองโดยใช้สื่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
     2.3.1 แบบทดสอบย่อย (ความรู้และเข้าใจในเนื้อหาที่ศึกษา)
     2.3.2 สอบกลางภาคและปลายภาค
     2.3.3 แบบประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย
     2.3.4 ข้อสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
     2.3.5 แบบสังเกตฤติกรรมในชั้นเรียน (ไหวพริบ ความเหมาะสมและความถูกต้องในการตอบคำถาม)
     3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
     3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
     3.2.1 การเรียนรู้จากการแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายรายบุคคลหรือรายกลุ่มเพื่อแก้โจทย์จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่กำหนดให้หรือประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ
     3.2.2 การสอนแบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
     3.2.3 การสอบแบบตั้งคำถามหรือถาม-ตอบให้คิดวิเคราะห์
     3.2.4 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองจากโจทย์ปัญหาที่มอบหมายและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
     3.2.5 การมอบหมายงาน กิจกรรมหรือโครงการที่มีการบูรณาการระหว่างรายวิชากับชีวิตประจำวันหรือวิชาชีพ
     3.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรม (การแสดงความคิดเห็นและร่วมทำกิจกรรมในชั้นเรียน)
     3.3.2 การตอบคำถามอย่างมีเหตุผลและเหมาะสม
     4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
     4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
     4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
     4.2.1 การเรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับสังคม
     4.2.2 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่ม ที่มีการทำงานเป็นทีมเพื่อแก้ไขโจทย์ปัญหา
     4.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
     4.3.2 แบบประเมินคุณภาพของงานกลุ่มที่มอบหมาย
     5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
     5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
     5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     5.2.1 การมอบหมายงานกลุ่ม (สืบค้นและวิเคราะห์ตัวอย่างจากกรณีศึกษา)
     5.2.2 การนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
     5.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมทำกิจกรรมในชั้นเรียน (การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลที่เหมาะสม)
     5.3.2 แบบประเมินคุณภาพของงานกลุ่มที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 22000007 วิทยาศาสตร์กับชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม, 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม, 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบส่งงานที่มอบหมายและความสำเร็จตามกำหนดเวลา ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม, 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์, 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี, 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ, 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม, 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การแสดงพฤติกรรมในชั้นเรียน (ทักษะปฏิบัติการทดลอง, การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม, ระบบการคิดวิเคราะห์โจทย์, การวางแผนในการคิดและตัดสินใจแก้โจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น) - การแสดงความคิดเห็น - การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง - การทดสอบย่อย - การถาม-ตอบปากเปล่า 3,5,7,11,13,15 10%
4 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ, 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ, 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะส, 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม, 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ, - คุณภาพของงานที่มอบหมาย (สมุดบันทึก, สมุดรายงานผลการทดลอง, การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน, มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์) - การเลือกใช้สารสนเทศที่เหมาะสม 1,3,6,11,14,16 20%
5 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ, 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์, 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ, 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสอบกลางภาค 8 20%
6 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ, 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์, 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ, 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสอบปลายภาค 17 20%
1) คณาจารย์แผนกเคมีและชีวเคมี (2559). เอกสารประกอบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์กับชีวิต, พิมพ์ครั้งที่ 2. สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน, 135 หน้า.
1) คณะอาจารย์, (2551). วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 2, พิมพ์ครั้งที่ 2, ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
2) ชัยวัฒน์  คุประตกุล, (2558). วิทยาศาสตร์ไทย อดีต  ปัจจุบัน  อนาคต. กรุงเทพมหานคร: นำอักษรการพิมพ์.
3) เติมศักดิ์  เศรษฐวัชรวนิช, (2550).วิทยาศาสตร์พัฒนาชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
4) ครุปกรณ์  ละเอียดอ่อน, (2559). เอกสารประกอบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์พัฒนาชีวิต . กรุงเทพ ฯ  :  ธนะการพิมพ์
5) ไพเราะ ทิพย์ทัศน์, (2551). ธรรมชาติวิทยา . กรุงเทพ ฯ  :  โรงพิมพ์ชวนพิมพ์  ครั้งที่  2.
6) มันทนี ยมจินดา, (2559). มนุษย์กับธรรมชาติ . กรุงเทพ ฯ  :  โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
7) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, (2557). วิทยาศาสตร์  2  หน่วยที่  8 . กรุงเทพ ฯ  :  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
8) ยงยุทธ ยุทธวงศ์ และประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์, (2549). บทบาทของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ในสังคมไทย ยีน นาโนเทค ไอทีและสังคมไทย. มูลนิธิบัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.
9) กองจัดการกากของเสียและสารอันตราย, (2561) กรมควบคุมมลพิษ, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ที่ http://www.pcd.go.th/info_serv/haz_chemicals_use.html#s5. เข้าถึงเมื่อ 25 มี.ค. 61.
10) กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย, (2561) สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร. ที่ http://www.doa. go.th/ard/?page_id=386. เข้าถึงเมื่อ 25 มี.ค. 61.
11) WHO, (2009) The WHO Recommended Classification of Pesticides by Hazard . (online) available at http://www.who.int/ipcs/publications/pesticides_hazard_2009.pdf (24 March 2018)
1) ชำนาญ  เชาวกีรติพงศ์, (2534). “หน่วยที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย” ในเอกสารประกอบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย หน่วยที่ 1-7. หน้า 1-52. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
2) กุลยา โอตากะ, (2547). เคมีในชีวิตประจำวัน. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพฯ. 420 หน้า.
3) นิธิยา รัตนาปนนท์ และวิบูล์ รัตนาปนนท์, (2543). สารพิษในอาหาร, โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.
4) ประภาศรี เทียนประเสริฐ, (2545). สารพิษรอบตัว, สุวีริยาสาส์น, กรุงเทพฯ.
5) มุกดา สุขสมาน, (2538). ชีวิตกับสภาพแวดล้อม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
6) ศิวาพร ศิวเวชช, (2546.) วัตถุเจือปนอาหาร เล่ม 1, ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ, นครปฐม.
7) สมศักดิ์ วสาคารวะ, (2548). สารเคมีกำจัดแมลง.
8) อรัญญา มโนสร้อย และจีรเดช มโนสร้อย, (2543). สารใหม่และวิทยาการใหม่ทางเครื่องสำอาง, โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.
9) อารัมภ์รัตน์ รัชดานุรักษ์, (2542). วัตถุดิบและส่วนประกอบของผงซักฟอก, วารสาร   จาร์พา, 52(7) : 26-27.
10) โกวิท วงศ์สุรวัฒน์, (2552). เจนวายคืออะไร. สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2557, จาก http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01act02170652§ionid=0130&day=2009-06-17.
11) วิจัยคน Gen-Y ในองค์กรพุ่งปี 2559 แนะธุรกิจปรับกลยุทธ์คนรุ่นใหม่-เก่า ต้านปัญหาสมองไหล, (2556). สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2558, จากhttp://thanachart.in.th/pwc-gen-y-2016.
12) วิทยา ชีวรุโณทัย, (2555). รักและผูกพันเจเนอเรชั่นแซด (Generation Z with love and care). กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊คส์.
13) Barrangou, Rodolphe, and Jennifer A Doudna, (2016). "Applications of CRISPR Technologies in Research and beyond." Nature Biotechnology 34(9): 933–41. http://www.nature.com/doifinder/10.1038/nbt.3659.
14) "CRISPR-Cas9 Based Therapeutics: Not So Fast.", (2015). EBioMedicine 2(5): 365.
15) Lander, Eric S., (2016). “The Heroes of CRISPR.” Cell 164(1–2): 18–28. http://dx.doi.org/10.1016/j.cell.2015.12.041.
16) Henold, K. L. and Walmsley, F., (1984). Chemical Principles, Properties, and Reactions, Addison-Wesley Publishing Company, Inc., U.S.A..
17) MAGA, J.A. and TU, A.T., (1995). Food Additive Toxicology. Marcel Dekker, Inc., New York, U.S.A., 542 pp.
18) Manahan, S.E., (1994). Environmental Chemistry, 6th ed., CRC Press, Inc., U.S.A..
19) Phyllis, B. and Girard, J., (1991). Chemistry an Environmental Perspective, Prentice-Hall International, Inc., U.S.A..
20) Pryde, Lucy, T., (1973). Pesticides, Food, and Drugs. Cumming Publishing Company, California, U.S.A..
21) Sackhem, G.I. and Lehman, D.D., (1994). Chemistry for the Health Sciences, 7th ed., Macmillan Publishing Company, U.S.A.
 
 
 
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2) แบบประเมินผู้สอน หรือแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน
อาจารย์ผู้สอนต้องติดตามความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (มีการใช้เอกสารประกอบการสอนที่ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี) หรือเข้าร่วมอบรมสัมมนาการจัดกระบวนการเรียนการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้กลยุทธ์และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบโดยอาจารย์ผู้สอนทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการที่มอบหมาย หรือ  
4.2 การทวนสอบโดยให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
4.3 มีกระบวนการทวนสอบ ฯ ในระดับกระบวนวิชา ที่สอดคล้องกับหลักสูตร (มคอ.2 หมวด 4 และหมวด 5) ให้ครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามที่หลักสูตรกำหนด
5.1) ทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและจัดหาอุปกรณ์สื่อการสอนให้มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
5.2) การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
5.3) การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา (ใน มคอ.5) เสนอต่อหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงในภาคการศึกษาต่อไป