การออกแบบอัตลักษณ์องค์กร

Corporate Identity

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางวิชาการของการออกแบบอัตลักษณ์  รวมทั้งมีทักษะในการออกแบบอัตลักษณ์ในแบบต่างๆ  ได้อย่างถูกต้อง  เพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาอื่นๆอย่างเหมาะสม  โดยตระหนักถึงคุณค่า  คุณธรรม จริยธรรม  เสียสละ  และซื่อสัตย์สุจริต


จุดมุ่งหมายของรายวิชา
          เพื่อให้นักศึกษามีความรู้    ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางวิชาการของการออกแบบอัตลักษณ์  รวมทั้งมีทักษะในการออกแบบอัตลักษณ์ในแบบต่างๆ  ได้อย่างถูกต้อง  เพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาอื่นๆ  อย่างเหมาะสม  โดยตระหนักถึงคุณค่า  คุณธรรม จริยธรรม  เสียสละ  และซื่อสัตย์สุจริต
 
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
   ¡ 1. มีจิตสำนึกด้านคุณธรรมและจริยธรรม    l 2. มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร     ¡ 3. มีวินัย และตรงต่อเวลา    ¡ 4. เคารพในสิทธิคุณค่าของความเป็นมนุษย์
ด้านความรู้
   l 1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับหลักการการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร     ¡ 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการใหม่ๆ เกี่ยวกับการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร     ¡ 3. สามารถบูรณาการความรู้ด้านอื่นๆ กับการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร 
ด้านทักษะทางปัญญา
   l 1. มีทักษะในปฏิบัติงานเขียนภาพประกอบเรื่องจากการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษามา    ¡ 2. มีทักษะในการนำความรู้ด้านหลักการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร  มาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบ
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
   ¡ 1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีงาม    l 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ    ¡ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม    ¡ 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
   ¡ 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม    l 2. สามารถสืบค้น ศึกษา  วิเคราะห์และและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม    ¡ 3. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
 
ปรับปรุงวิธีการสอน  กิจกรรม  งานมอบหมาย  และการประเมินผล   ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
 ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ  ความเป็นมา  ความสำคัญ  ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างขององค์กรกับรูปแบบอัตลักษณ์และเครื่องหมายการค้า  กระบวนการในการสร้างอัตลักษณ์ให้กับองค์กร  การวางแผนการออกแบบอัตลักษณ์และอัตลักษณ์ขององค์กรต่างๆ
2ชั่วโมง/สัปดาห์
   ¡ 1.มีจิตสำนึกด้านคุณธรรมและจริยธรรม    l 2.มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร     ¡ 3.มีวินัย และตรงต่อเวลา    4.เคารพในสิทธิคุณค่าของความเป็นมนุษย์
ü บรรยาย 1(2),1(4) ü อภิปรายกลุ่ม 1(4)   กรณีศึกษา     ปฏิบัติงาน     การถามตอบ     การศึกษาค้นคว้าทำรายงาน     โครงงาน   ü การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว 1(1)   นำเสนองาน     การสาธิต     การจัดสถานการณ์จำลอง   ü การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน 1(3)
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 1(3) ü ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด 1(1) ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1(2)   ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร/รายงาน/แฟ้มสะสมผลงาน)     ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)     ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)     ประเมินจากการสอบข้อเขียน     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
   l 1.มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร     ¡ 2.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีด้านการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร     ¡ 3.สามารถบูรณาการความรู้ด้านการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร  กับความรู้สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง
ü บรรยาย 2(1) ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)   ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) 2(2) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)     นำเสนอข้อมูล 2(2)   สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 2(3) ü ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด 2(1) ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 2(2)   ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานปฏิบัติ)     ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)     ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)   ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน 2(1),2(2) ü ประเมินจากการสอบปฏิบัติ 2(1) ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 2(1), 2(3)   ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
l 1.มีทักษะในปฏิบัติงานการเขียนภาพประกอบจากการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษามา ¡ 2.มีทักษะในการนำความรู้ด้านการเขียนภาพประกอบมาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบ
  บรรยาย     มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)   ü มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน) 3(2)   มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)     นำเสนอข้อมูล   ü สาธิต/ดูงาน 3(1) ü ฝึกปฏิบัติ 3(1),3(2)   ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
  ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง   ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานปฏิบัติ) 3(2)   ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)     ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)     ประเมินจากการสอบข้อเขียน   ü ประเมินจากการสอบปฏิบัติ 3(2) ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 3(1)   ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
   ¡ 1.มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีงาม    l 2.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ    ¡ 3.สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม   4.สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
  บรรยาย     มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)   ü มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน) 4(2) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (รวบรวมการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร ) 4(1),4(2) ü นำเสนอข้อมูล 4(3)   สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 4(1)   ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง     ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานปฏิบัติ)   ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (การออกแบบอัตลักษณ์องค์กร  ) 4(1), 4(2), 4(3) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) 4(3)   ประเมินจากการสอบข้อเขียน     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ   ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 4(2)   ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
   ¡ 1.สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม    l 2.สามารถสืบค้น ศึกษา  วิเคราะห์และและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม    ¡ 3.สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
  บรรยาย     มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)   ü มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน) 5(2) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) 5(1)   นำเสนอข้อมูล   ü สาธิต/ดูงาน 5(3)   ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
  ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง   ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานปฏิบัติ) 5(2) 5(3) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (การออกแบบอัตลักษณ์องค์กร  ) 5(1) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) 5(1)   ประเมินจากการสอบข้อเขียน     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ   ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 5(2) ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 5(3)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกด้านคุณธรรมและจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร 1.3 มีวินัย และตรงต่อเวลา 1.4 เคารพในสิทธิคุณค่าของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับหลักการการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการใหม่ๆ เกี่ยวกับการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ด้านอื่นๆ กับการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร 3.1 มีทักษะในปฏิบัติงานเขียนภาพประกอบเรื่องจากการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษามา 3.2 มีทักษะในการนำความรู้ด้านหลักการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร มาประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีงาม 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
1 43011014 การออกแบบอัตลักษณ์องค์กร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1),1(2),1(3)1(4) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา การแต่งกาย การแสดงพฤติกรรมที่ไม่ละเมิดสิทธิและดูแคลนผู้อื่น พฤติกรรมการเรียน การส่งงาน การติดตามงาน 1-16 10
2 3(1),3(2) 5(3) งานปฏิบัติตลอดภาคการศึกษา โครงงานสรุป 1-16 40
3 2(1),2(2),2(3) สอบกลางภาค สอบปฏิบัติ สอบปลายภาค 16 40
4 2(3),3(1),4(1),4(3),5(2) ,4(2) 5(1),5(3) รายงานกลุ่ม และเดี่ยว กระบวนการทำงาน การนำเสนองานกลุ่ม งานเดี่ยว 5, 10 10
สุมิตรา  ศรีวิบูลย์ , การออกแบบอัตลักษณ์  Corporate  Identity  พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์  Core Function 49/448 นนท์ทาวเวอร์คอนโดมิเนียม  ตึก B ชั้น 7 ถนนติวานนท์  ต. ตลาดขวัญ  อ. เมือง  จ. นนทบุรี, 2547
ทองเจือ  เขียดทอง , การออกแบบสัญลักษณ์  , จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สิปประภา 10/17  สุขุมวิท 101/1
 บางนา  กรุงเทพ ฯ 2545
Computer Art ; วารสารฉบับ Creative Logo, สิงหาคม  2558
การศึกษา  การดูงานและประสบการณ์ตรงจากนักออกแบบเป็นสิ่งสำคัญต่อการศึกษาทั้งยังสามารถจุดประกายความคิดสร้างสรรค์และนำความรู้หรือประสบการณ์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นๆต่อไป
วารสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบ Corporate  Identity
         เว็บไซต์  ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการประมวลรายวิชา Corporate  Identity และในรายวิชาที่ใกล้เคียง  เช่น
         การออกแบบสัญลักษณ์ , ระบบป้ายภายในและภายนอกองค์กร
         ประสบการณ์ตรงจากการเข้าร่วมฟังการบรรยายจาก  นักออกแบบกราฟิกมืออาชีพทั้งในจังหวัดเชียงใหม่และจากบริษัทชั้นนำในกรุงเทพฯ
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้

 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  การสอบถามนักศึกษาในชั้นเรียน

 การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน  โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ  เช่น  แบบแสดงความคิดเห็น  E-mail
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การมีส่วนร่วมของนักศึกษา
2.3   การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ โดยการให้นักศึกษาประเมินตัวเอง
3.1   ดูผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษา
3.2   ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน ตามข้อเสนอ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย  และปลายภาคให้นักศึกษาประเมินตนเอง
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ