ปฏิบัติการชีวเคมีทางการเกษตร

Agricultural Biochemistry Laboratory

1.1  แสดงทักษะการปฏิบัติการใช้เครื่องมืออุปกรณ์พื้นฐานและเทคนิคต่างๆ ทางชีวเคมี จนเกิดความเข้าใจ
1.2  แสดงทักษะการปฏิบัติการทดลองวิเคราะห์โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล
1.3  แสดงทักษะการปฏิบัติการทดลองวิเคราะห์สมบัติของสารชีวโมเลกุล
1.4  แสดงทักษะการปฏิบัติการทดลองแยกสารชีวโมเลกุลบางส่วน
1.5  รู้การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในการปฏิบัติการทดลองได้อย่างเหมาะสม
1.6  สร้างนิสัยในการทำงานเป็นกลุ่ม มีความรับผิดชอบและปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
1.7  รู้การประยุกต์ทักษะการปฏิบัติการทดลองไปใช้ในสายงานที่เกี่ยวข้องได้ตามความเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษานำทักษะการปฏิบัติการทดลองและความรู้ในรายวิชาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้ได้มีการติดตามความก้าวหน้า และการยกตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มในสาขาที่เกี่ยวข้องตามยุคสมัย โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web based เพื่อสามารถเชื่อมโยงความรู้ในรายวิชา
ปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคต่างๆ ทางเคมี เพื่อใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำนอกชั้นเรียน สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง ผ่านช่องทาง ดังนี้
    3.1  อาคารสาขาวิทยาศาสตร์ ห้อง 821 โทร. 0861839988  วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 17.00 น.
    3.2  e-mail : visutthithada_runvi@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
    3.3  Facebook : Aj Viran เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
    3.4  line : kobzazaa เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
     1.1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
     1.1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
     1.1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
     1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
     1.1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
     1.2.1 การมอบหมายงานเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     1.2.2 การสอนฝึกปฏิบัติการทดลองในห้องปฏิบัติการเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     1.2.3 การสอนโดยการให้อภิปรายและรายงานผลการทดลองปากเปล่าเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     1.3.1 สมุดรายงานผลการทดลอง (ส่งตามข้อตกลงในเวลาที่กำหนด)
     1.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนและในการทำปฏิบัติการทดลอง
     1.3.3 ใบเช็คชื่อการเข้าเรียน
     1.3.4 การแสดงความคิดเห็นหรือการตอบคำถาม
     1.3.5 ความรับผิดชอบในข้อตกลงหรือกฎเกณฑ์ตามที่กำหนด (ปฏิบัติตามกฎในการใช้ห้องปฏิบัติการ)
      1.3.6 คุณภาพของงานที่มอบหมาย (โดยไม่คัดลอก, การอ้างอิงแหล่งข้อมูล)
     2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2.1.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
     2.1.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
     2.1.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
     2.2.1 การสอนโดยการให้อภิปรายและรายงานผลการทดลองปากเปล่าเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     2.2.2 การสอนฝึกปฏิบัติการทดลองในห้องปฏิบัติการเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     2.2.3 การสอนแบบสนทนาโต้ตอบ
     2.2.4 การมอบหมายงานให้รายงานผลการทดลองเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     2.3.1 ข้อสอบกลางภาค/ปลายภาค
     2.3.2 การเขียนรายงานผลการทดลอง (การอภิปรายสรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง)
     2.3.3 การสัมภาษณ์การวางแผนวิธีการทดลอง
     2.3.4 การสังเกตพฤติกรรมในการทำปฏิบัติการทดลองเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
     2.3.5 การทดสอบและวัดทักษะด้านการปฏิบัติการทดลอง
     3.1.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
     3.1.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนและเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
     3.1.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
     3.1.4 มีทักษะในการปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
     3.2.1 การสอนโดยการให้อภิปรายและรายงานผลการทดลองปากเปล่าเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     3.2.2 การสอนแบบยกตัวอย่างกรณีศึกษา
     3.2.3 การสอนฝึกปฏิบัติการทดลองในห้องปฏิบัติการเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     3.3.1 การแสดงความคิดเห็นหรือการตอบคำถามอย่างเหมาะสมถูกต้อง
     3.3.2 การเขียนรายงานผลการทดลอง (การอภิปรายสรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง)
     3.3.3 การทดสอบและวัดทักษะด้านการปฏิบัติการทดลอง
     4.1.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
     4.1.2  สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     4.1.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
     4.1.4  สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งชองตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
     4.2.1 การสอนโดยการให้อภิปรายและรายงานผลการทดลองปากเปล่าเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     4.2.2 การสอนแบบฝึกปฏิบัติการทดลองในห้องปฏิบัติการรายกลุ่มและรายบุคคล
     4.2.3 การสอนแบบสนทนาโต้ตอบ
     4.3.1 การสังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน
     4.3.2 การสัมภาษณ์การวางแผนวิธีการทดลอง
     4.3.3 การสังเกตพฤติกรรมในการทำปฏิบัติการทดลองเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
     4.3.4 การแสดงความคิดเห็นหรือการตอบคำถามอย่างเหมาะสมถูกต้อง
     5.1.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
     5.1.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     5.1.3 สามารถระบุเข้าถึงและคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
     5.1.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสมและใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูลแปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
     5.1.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
     5.1.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนวัตกรรมและสถานการณ์โลกโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
     5.1.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
     5.2.1 การมอบหมายงานให้รายงานผลการทดลองเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลและนำเสนอ
     5.3.1 การเขียนรายงานผลการทดลองและนำเสนอ (การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการออกแบบรายงานผลการทดลอง, การอภิปรายสรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง,การอ้างอิงแหล่งข้อมูลจากการสืบค้น)
     6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
     6.2.1 การมอบหมายงานให้รายงานผลการทดลองเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
     6.3.1 การเขียนรายงานผลการทดลอง (การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการออกแบบรายงานผลการทดลอง, การอภิปรายสรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง,การอ้างอิงแหล่งข้อมูลจากการสืบค้น)
     6.3.2 คุณภาพของงานที่มอบหมาย (โดยไม่คัดลอก, การอ้างอิงแหล่งข้อมูล)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนและเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในการปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งชองตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุเข้าถึงและคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสมและใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูลแปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนวัตกรรมและสถานการณ์โลกโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 20000303 ปฏิบัติการชีวเคมีทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 1.4, 4.1, 4.4 - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบส่งงานที่มอบหมายและความสำเร็จตามกำหนดเวลา ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.5, 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 3.1, 3.2, 3.3, 3.4, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3, 5.4, 5.5, 5.6, 5.7, 6.1 - การแสดงพฤติกรรมในชั้นเรียน (ทักษะปฏิบัติการทดลอง, การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม, ระบบการคิดวิเคราะห์โจทย์, การวางแผนในการคิดและตัดสินใจแก้โจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น) - การแสดงความคิดเห็น - การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
3 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 4.4, 5.7 - การทดสอบย่อย - การถาม-ตอบปากเปล่า 3,5,7,11,13,15 10%
4 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 3.1, 3.2, 3.3, 4.1, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, 5.4, 5.5, 5.6, 5.7 - คุณภาพของงานที่มอบหมาย (สมุดบันทึก, สมุดรายงานผลการทดลอง, การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน, มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์) - การเลือกใช้สารสนเทศที่เหมาะสม 1,3,6,11,14,16 20%
5 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 3.2, 4.4, 5.2, 5.7 การสอบกลางภาค 8 20%
6 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 3.2, 4.4, 5.2, 5.7 การสอบปลายภาค 17 20%
1) คณาจารย์แผนกเคมีและชีวเคมี (2560). คู่มือปฏิบัตการวิชาชีวเคมีทางการเกษตร, พิมพ์ครั้งที่ 3. สาขาวิทยาศาสตร์ มทร.ล้านนา น่าน, 110 หน้า
1) คณาจารย์แผนกเคมีและชีวเคมี (2559). เอกสารประกอบการสอนวิชาชีวเคมีทางการเกษตร พิมพ์ครั้งที่ 2 ฉบับปรับปรุงแก้ไข. สาขาวิทยาศาสตร์ มทร.ล้านนา น่าน, 210 หน้า
2) ดาวัลย์ฉิมภู่ (2549). ชีวเคมี. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 2
3) นิโลบล เนื่องตันและคณะ (2542) ชีวเคมี  ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
4) มนตรี จุฬาวัฒนฑลและคณะ (2542) ชีวเคมี  ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล
5) Cheswarth, J.M., Sruchbury T., and Scaife JR., (1998). Agricultural Biochemistry. St.Edmundsbury Press, Suffolk.
6)  McKee, T.  (1996). Biochemistry; an Introduction, 1st ed,  A Time Mirror Company, USA
7) Roskoski, R.  (1996) Biochemistry, 1st ed,  W.B. Saunders Company, USA
8) Voet, D.  (2004) Biochemistry, 3nd ed,  Wiley International Edition, USA
1) คณาจารย์ (2542) คู่มือการสอนชีวเคมี 1 ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2) Devlin, TM. (1997) Biochemistry with clinical correlations, 4th ed,  Wiley-Liss, New York
3) Marks, DB.  (1996) Basic Medical Biochemistry; a clinical approach, 1st ed,  William and Wilkins Company, USA
4) International Service for the Acquisition of Agri-Biotech Applications. (2014). ISAAA brief 49-2014: Executive summary. Retrieved from http://www.isaaa.org/resources /publications/briefs/49/executivesummary/default.asp.
5) Brookes, G., & Barfoot, P. (2014). GM crops: global socio-economic and environmental impacts 1996–2012. Dorchester, UK: PG Economics Ltd. p. 11. Retrieved from http:// www.pgeconomics.co.uk/ pdf/2014globalimpactstudyfinalreport. Pdf
6) Applications of recombinant DNA technology. (2016). Virtual Learning Environment of the Faculty of Applied Sciences, University of Sri Jayewardenepura. Retrieved from http://www.sci.sjp.ac.lk/vle/pluginfile.php/11386/mod_resource/content/0/Applications_1.pdf.
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2) แบบประเมินผู้สอน หรือแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน
อาจารย์ผู้สอนต้องติดตามความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (มีการใช้เอกสารประกอบการสอนที่ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี) หรือเข้าร่วมอบรมสัมมนาการจัดกระบวนการเรียนการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้กลยุทธ์และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบโดยอาจารย์ผู้สอนทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการที่มอบหมาย หรือ  
4.2 การทวนสอบโดยให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
4.3 มีกระบวนการทวนสอบ ฯ ในระดับกระบวนวิชา ที่สอดคล้องกับหลักสูตร (มคอ.2 หมวด 4 และหมวด 5) ให้ครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามที่หลักสูตรกำหนด
5.1) ทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและจัดหาอุปกรณ์สื่อการสอนให้มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
5.2) การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
5.3) การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา (ใน มคอ.5) เสนอต่อหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงในภาคการศึกษาต่อไป