มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร

Livestock Farm Standards and Food Safety

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้าน
ตา่ ง ๆ ดังนี้

เข้าใจห่วงโซ่คุณภาพจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร เข้าใจระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย เข้าใจการจัดการทางชีวภาพในฟาร์มปศุสัตว์ เข้าใจมาตรฐานฟาร์มสัตว์หรือหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good

Agricultural Practice; GAP) ส าหรับการเลี้ยงสัตว์แต่ละชนิด

รู้หลักของ Good Manufacturing Practice (GMP) และ Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) รู้เกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากสัตว์
เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้อง กับ การสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงปัจจุบัน  และกระตุ้นให้นักศึกษามีการพัฒนาด้านคุณสมบัติ บัณฑิตที่พึงประสงค์ และ การมีทักษะในศตวรรษที่ 21  
ศึกษาเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP),

มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ละชนิด การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม หลักการของ Good Manufacturing Practice (GMP) และ Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร และมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุ สัตว์
วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ โทร...054-710-259 ต่อ 1130 e-mail; mamsupanan@gmail.com ทุกวัน Facebook; mam supanan กลุ่ม LFSFS 2-61 LINE; LFSFS 2-61 ทุกวัน
 
š1.1 มีจิตส านึกสาธารณะและ ตระหนักในคณุ ค่าของคุณธรรมจริยธรรม
⬤1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ วิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผดิ ชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรี ของความเป็นมนุษย์
การสอนแบบมุ่งเน้นให้นักศึกษา เข้าใจและตระหนักถึงจรรยาบรรณ ในการผลติ สินคา้ ปศุสตั ว์ที่มีความ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค 
สังเกตพฤติกรรม พิจารณาจากการ แสดงออก และความเข้าใจระบบการ ผลิตสัตว์แบบปลอดภัยต่อผู้บริโภค
⬤2.1 มีความรู้และความเข้าใจทงั้ ด้าน ทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า
ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชา ที่ศึกษา
การบรรยายประกอบสื่อการสอน
และการสืบค้นความรู้จากแหล่ง ความรู้ต่างๆ เพิ่มเติม
การทดสอบความรู้

การสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
⬤3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวชิ าชีพ
š3.2 มีทักษะในการน าความรู้มาคดิ และใช้อย่าง มีระบบ 
การให้นักศึกษาได้แสดงออกทาง ความคิด การระดมสมอง การนำ ความรู้ที่ได้จากการเรียน และการ ค้นคว้า มาวิเคราะห์/สังเคราะห์ และสรุปเป็นองค์ความรู้ 
การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนใน การใช้ทักษะทางปัญญาในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ องค์ความรู้ ต่างๆ
š4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาท สังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและ สามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
⬤4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มา ช่วยเหลือ สังคม ในประเด็นที่เหมาะสม
การออกแบบกิจกรรมให้นักศึกษา ได้ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจการ ผลิตสัตว์แบบปลอดภัย และหรือ ระบบคุณภาพ สู่กลุ่มเป้าหมายด้วย วิธีการต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ 
ผลงานที่ตรงตามวัตถุประสงค์ การกล้า แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ สังเกต พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ต่างๆ บทบาทการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี  การให้คววามร่วมมือกับกลุ่ม 
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ เหมาะสม
⬤5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ต่างประเทศในการ สื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
การมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้า ในเรื่องที่นักศึกษาสนใจ/หัวข้อที่ อาจารย์ผู้สอนกำหนด จากสื่อและ แหล่งความรู้ต่างๆ
 
พิจารณาจากผลงานการค้นคว้า และ การนำเสนอผลงาน ด้วยการใช้เทคโนโลยีในการจัดเตรียมและนำเสนอ อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคล และความ รับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCAG207 มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ⚪1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ⚫1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ⚪1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ⚪1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - การชื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การมีจิตสำนึกในการจัดการผลิตปศุสัตว์ที่ ได้มาตรฐานมีคุณณภาพและปลอดภัย - การไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น โดยไม่มีการอ้างอิง - การมีวินัย/เข้าชั้นเรียน-ส่งรายงานตรงเวลา ทุกสัปดาห์ 10%
2 ⚫2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ⚪2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา การสอบกลางภาค/ปลายภาค และการทดสอบย่อย ในชั้นเรียนและตามตารางสอบ 40%
3 ⚫3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ⚪3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่าง มีระบบ การนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ อย่างถูกต้องและเหมาะสม ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยประเมินจากคุณภาพ ผลงานที่สะท้อนความตั้งใจ/เอาใจใส่ และความรับผิดชอบ ทุกสัปดาห์ 20%
4 ⚪4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ⚪4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ⚪4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ⚫4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคม ในประเด็นที่เหมาะสม การแสดงออกในการมสี ่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรยี น การให้ความ ร่วมมือกิจกรรมกลุ่ม การน าความรู้เพื่อช่วยเหลือสังคม /การสร้าง ประโยชน์ต่อสังคม ตามความเหมาะสม 15%
5 ⚪5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ เหมาะสม ⚫5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม ⚪ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การน าเสนองาน/การรายงานและน าเสนอผลงาน/การสื่อสาร การใช้/ เทคโนโลยีที่เหมาะสม/คณุ ภาพชิ้นงาน ทุกสัปดาห์ 15%
เอกสารประกอบการสอน วิชา มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร สื่อการเรียนรู้ผ่านการใช้ สื่อออนไลน์ ที่หลากหลาย
พระราชบัญญัติอาหาร พศ. 2552 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุงปี 2553 โดยกองควบคุมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 25533. “ข้อกำหนดทั่วไปว่าด้วยการรับรองระบบ GMP และ HACCP” ฝ่ายรับรองโรงงานผลลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เพื่อการส่งออก ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักงานพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหาร ฉบับที่ 01 แก้ไขครั้งที 00 จำนวน 150 หน้า นิดารัตน์ ไหรคณะฮก รักไทย งามภักดิ์ บุลิกา จุลละโพธิ อภิเษก คงศิลา และ ศยามล พวงขจร. 2554. หลักเกณฑ์การจัดทำระบบคอมพาร์ทเมนต์ในอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1 โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณืการเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด จังหวัดนนทบุรี 113 หน้า สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช). 2555. คู่มือการแสดงเครื่องหมายรับรอง มาตรฐานสินค้าเกษตร ภายไต้พระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 กรมปสุสัตว์ “คู่มือหลักปฏิบัติที่ดีในการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับฟาร์มสุกร” สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. 2545. แนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดี (จี.เอ็ม.พี.)
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ (http://www.dld.go.th/ certify/th /index.php?option=com_content&view=article&id=180:standard&catid=79:standard-farm&Itemid=101)
กรมปศุสัตว์ (http://www.dld.go.th/ certify/) พระราชบัญญัติอาหาร พศ. 2552 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุงปี 2553 โดยกองควบคุมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 2553
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการ เรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้ง โดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนด ทุกสาขา การศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์ การสอน/ การวิจัยในชั้น เรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาทำวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย สาขาการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา เพื่อหารือปัญหา การเรียนรู้ของ นักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบ และระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบ ของสาขาวิชา ภายในกรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมิน การสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป