ระเบียบวิธีวิจัย

Research Methodology

1. เข้าใจความหมายและความสําคัญของการวิจัย 2. แยกประเภทงานวิจัยได้ 3. เข้าใจขั้นตอนสําคัญของการวิจัย 4. เลือกวิธีที่เหมาะสมกับการวิจัยประเภทต่างๆ 5. เขียนเค้าโครงงานวิจัยในหัวข้อที่สนใจได  
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์และประเภทของงานวิจัย ขั้นตอนสำคัญของการวิจัย การออกแบบการวิจัย ตัวแปรประเภทต่างๆ วิธีการสุ่มตัวอย่าง การเก็บข้อมูล วิธีการทางข้อมูล การวิเคราะห์ การแปลความ การนำเสนอข้อมูล การเขียนโครงร่างของงานนวิจัย และการเขียนรายงานการวิจัย
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ตามความต้องการของนักศึกษาเป็นรายบุคคล
ความซื่อสัตย์ สุจริตและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการทํางานให้สําเร็จ  
 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ให้ความสําคัญในเรื่องของวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กําหนด การใช้กรณีศึกษา (Case study) เกี่ยวกับจรรยาบรรณนักวิจัย การอภิปรายกรณีศึกษาที่มอบหมาย  
พฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกําหนดเวลา การประเมินผลกรณีศึกษา จากการศึกษาคนคว ้ ้าและเรียบเรียงของนักศึกษา ประเมินผลจากพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียน หรือลักษณะพฤติกรรม ได้แก่ การมีวินัย การเสียสละ การทําจิตอาสา ให้ความร่วมมือ ความเสียสละ การให้เกียรติผู้อื่นและมีความรับผิดชอบ  
ความรอบรู้อย่างกว้างขวางในศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของชีวิต และสามารถนําไปใช้ในการดําเนินชีวิตได้  
ใช้เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ได้แก่ การสอนโดยการใช้วิจัยเป็นฐาน การใช้เทคนิคการต่อบทเรียน การเรียนรู้จากการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem based learning) การจัดกิจกรรมจะปรบเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมของหัวขอในแต่ละเนื้อหาของหน่วยเรียน และมีการบรรยายเพิ่มเติมเพื่อความสมบรูณ์ของเนื้อหาและเป็นไปตามจุดมงหมายรายวิชา
การอภิปรายงานมอบหมาย โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการอภปรายและการน ิ ําเสนอ  
การประเมินผลในชั้นเรียน โดยสุ่มถามเป็นรายบุคคลทุกครั้งที่เรียน ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตามทฤษฎีและเนื้อหารายวิชา การนําเสนองานที่มอบหมายจากการค้นคว้า  
การนําความรู้มาประยุกตใช้ในชีวิตประจําวัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม  
การสอนโดยใช้เทคนิค SCAMPER ในการกระตุ้นให้ผู้เรียนเขียนโครงการวิจัยจากงานวิจัยที่ได้สืบค้นตามความสนใจของผู้เรียน การใช้เทคนิค SCAMPER เป็นการใช้คําถามกระตุ้นผู้เรียนให้ตอบคําถามในแง่มุมใหม่ๆ โดยใช้ฐานข้อมูลเดิม ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ที่มีอยู่นํามาประยุกต์ใหม
การอภิปรายกลุ่มโดยใช้กระบวนการคิดหาเหตุผล และสรุปข้อเสนอแนะ  
ประเมินจากการการสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ แนวคิดในการใช้เหตุผลอย่างสร้างสรรค์
ประเมินผลจากการนําเสนอการเขียนโครงการวิจัยในชั้นเรียน  
สามารถทํางานเป็นทีม มีภาวะผู้นําและผู้ตาม รวมถึงสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้  
การใช้สถานการณ์จําลอง (Simulation) และมีการวางเงื่อนไขเพื่อให้เกิดกระบวนกลุ่มตามแผนการสอนที่วางไว  
ประเมินความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลระหว่างการทํากิจกรรม  
ความสามารถใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายเพื่อการสื่อสาร และมีทักษะการนําเสนอข้อมูล  
มอบหมายงานให้ศึกษาตามวิธีการวิจัย จัดทํารายงานผลการวิจัย การนําเสนอข้อมูลที่หลายรูปแบบตามระเบียบวิธีวิจัย การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายด้วยโปรแกรม Power point  
ประเมินทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการวิจัย
ประเมินทักษะในการสืบค้นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ประเมินรูปแบบการนําเสนอผลงานวิจัยด้วยโปรแกรม Power point หรือรูปแบบการนําเสนออื่นที่ทันสมัย

 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 2 1 1 2 3 4 1 2 3
1 13061012 ระเบียบวิธีวิจัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 2.1, 2.3, 2.3 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค และ การสอบปลายภาค 8, 17 50
2 2.1, 2.3 3.1, 3.2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 5.1, 5.2 การทำแบบฝึกหัด และ ฝึกปฏิบัติการ Lab ตามใบงาน 7, 11, 12, 13 30
3 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 2.1, 2.3 3.1, 3.2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 5.1, 5.2, 5.3 รายงานและการนำเสนอโครงการวิจัย 16 15
4 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 พฤติกรรมในชั้นเรียน 1.-16 5
จรัญ จันทลักขณา. (2523). สถิติวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิชย์ จํากัด
ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์. (2546). ระเบียบวิธีวิจัย. สํานักพิมพ์ดวงแก้ว, กรุงเทพ ฯ.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสงคมศาสตร ์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : บริษัท เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง จํากัด มนัส สุวรรณ. (2549). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส  
http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php
https://www.trf.or.th/
https://www.nrct.go.th/home
ชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา ใหน้ ักศึกษาเข้าใจและเห็นความสําคัญของการประเมินประสิทธิผลการสอนของผู้สอนเพื่อใช้ข้อมูลในการปรับปรุงการสอน  
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษาและทํารายงานสรุป พัฒนาการของนักศึกษา ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข และการปรับปรุงรายวิชา
        หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
        ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
        จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น