ภาษาอังกฤษเพื่อนำเสนองานด้านการท่องเที่ยว

English for Tourism Presentation

เพื่อให้นักศึกษาและฝึกทักษะการน าเสนองานโดยประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษด้านการท่องเที่ยวใน การขาย การสัมมนา การประชุม งานวิจัย หัวข้ออิสระที่สนใจหรือสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนาเสนองานโดยประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษด้านการท่องเที่ยวในการขาย การสัมมนา การประชุม งานวิจัย หัวข้ออิสระที่สนใจหรือสอดคล้องกับสถานก ปัจจุบัน
ศึกษากระบวนการเขียน เน้นการจัดระบบความคิด และเรียบเรียงเป็นข้อเขียนระดับประโยค และ ย่อหน้าชนิดต่างๆ ที่มีความต่อเนื่องของเนื้อหาและมีเอกภาพ โดยใช้ภาษาที่สละสลวย เหมาะสมกับบริบท
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ1ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่ความมีวิน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่ตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย
1.2.1 ให้นักศึกษาท างานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง
1.2.2 ก าหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาแ สม่ าเสมอ การส่งงานตรงตามก าหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.1 การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในห้อง
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจ ทั้งความรู้ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหา รายวิชา
2.1.1 ในทางทฤษฎีเน้นความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเขียน การจัดระบบความคิด โครงสร้างของข้อความระดับประโยค และระดับย่อหน้าประเภทต่าง ๆ
2.1.2 ในทางปฏิบัติ เน้นความสามารถในการเรียบเรียงความคิดเป็นข้อความ และการเขียน ข้อความระดับประโยคและระดับย่อหน้าประเภทต่าง ๆ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส ำคัญ โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่ก าหนดใน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างมาแลกเปๆลี่ยนเรียนรู้ะ กันในชั้นเรียน
2.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบจัดระบบความคิดติการ การเขียนข้อความระดับประโยคและย่อหน้า
2.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2 การฝึกปฏิบัติการเขียนความระดับต่าง ๆ ทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและน ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะด้านการน าความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเขียนแลดระบบความคิดการจั
รวมถึงการเขียนข้อความระดับประโยคและระดับย่อหน้าประเภทต่าง ๆ มาใช้ในการสื่อสารอย่างเป็นระบบ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดย
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกจัดระบบความคิดและเขียนข้อความทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อ
3.2.2 ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เฉพาะทางกำหนด จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การท าแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักการท โดยการช่วยกันค้นคว้าหาคางานเป็นที าตอบ และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
จัดให้นักศึกษาได้ท ากิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเ ช่วยกันระดมสมองในการฝึกการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ
4.3.1 ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นให้นัค้นคว้าศึกศึกษาได้ วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์วิจารณ์อย่างเหมาะสม
กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างoff-lineและonline
ดูจากผลการศึกษาจากเว็บไซต์ที่มอบหมความรู้ที่ได้รับย ผลการเรียนหลังการศึกษาค้นคว้า และการฝึกฝนด้วยตนเอง
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มา-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 Unit 1-3 สอบกลางภาค 9 20%
2 Unit 4-6 สอบปลายภาค 17 20%
3 Class participation & Assignments การทดสอบย่อย การส่งงานตามที่มอบหมาย การฝึกปฏิบัติแสดงบทบาทสมมุติและการสนทนา ทำงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 60%
4 การเข้าชั้นเรียน (class attendance) จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
Erica J. Williams (2013). Presentation in English. Macmillan
-ไม่มี-
-ไม่มี-
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดท าโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูล เพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ด าเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา จากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก ผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือ หัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและ รายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้

5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5..2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จา รายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์