การวิจารณ์ศิลปะ

Art Criticism

-เพื่อการแสดงออกทางความคิดเห็นต่อผลงานด้านทัศนศิลป์ เพื่อให้มีความคิดเห็นตามหลักเกณฑ์ทางศิลปะ โดยวิธีการติชม เสนอข้อคิดเห็น
- เพื่อศึกษาองค์ประกอบในการวิจารณ์ผลงานโดยรวมของศิลปะ(ทัศนศิลป์)
- เพื่อให้เกิดประโยชน์ของการวิจารณ์ต่อผู้วิจารณ์
- เพื่อให้เกิดประโยชน์ของการวิจารณ์ต่อผู้สร้างสรรค์ผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจารณ์ มีความลึกซึ้งและเห็นคุณค่าในการชื่มผลงานทางทัศนศิลป์ เพื่อการนำไปใช้ในผลงานของตนเอง ฝึกการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในการวิจารณ์
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญและความเป็นมาของการวิจารณ์ศิลปะ ปรัชญาและรูปแบบการวิจารณ์ศิลปะ การนำเสนอการวิจารณ์ศิลปะ ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ การนำเสนอการวิจารณ์ศิลปะ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
           1.  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
            2.  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่  มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3.  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฎิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆนอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ

การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากการปฏิบัติงานของนักศึกษาและประเมินจากผลงานที่ปฎิบัติ ประเมินจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2.  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1.  ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
2. ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
3.  มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
      
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง และประเมินจากการทดสอบ เป็นต้น
                     1.  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
                     2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                     3.  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
                     4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป้นผู้นำและผู้รายงาน ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัย ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ มอบหมายงานให้สัมภาษณ์บุคลต่างๆ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
1.  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2.  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกตต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล  เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัด สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
สร้างเจตคติที่ดีต่อการฝึกปฏิบัติ จัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในที่สาธารณะเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์และฝึกปฏิบัติงานด้วยใจ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์เป็นต้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5
1 41000029 การวิจารณ์ศิลปะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 การประเมินย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค การประเมินย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 60 %
2 1.1 2.1 3.2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 5.1, 5.2 ประเมินสรุปทุกชิ้นผลงาน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานและผลงาน การส่งผลงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30 %
3 1.1 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
ศิลปะเบื้องต้น วาดเส้น ระบายสี ใบหน้าสร้างสรรค์ ชัยวัฒน์ การรื่นศรี/, กรุงเทพฯ ปาเจรา :, 2546
องค์ประกอบศิลป์ สมภพ /จงจิตต์โพธา, กรุงเทพฯ วาดศิลป์ :, 2554
องค์ประกอบของศิลปะ, ชลูด นิ่มเสมอ, กรุงเทพฯ ไทยวัฒนาพานิช :, 2531
ศิลปะคลาสสิก สถาปัตยกรรม :, ประติมากรรม, จิตกรรม กฤษณา หงษ์อุเทน /, กรุงเทพฯ อมรินทร์พริ้นติ้ง :, 2549
 ศิลปะร่วมสมัย, วิรุณ ตั้งเจริญ, กรุงเทพฯ วิฌวลอารต์ :, 2527
 ศิลปะหลังสมัยใหม่ =Postmodern art / วิรุณ ตั้งเจริญ, กรุงเทพฯ :สันติศิริการพิมพ์, 2547
ศิลปะภายใต้แรงกดดัน =Arts under pressure / Joost Smiers ; แปลโดย ธวัชชัย อนุพงศ์ อนันต์, กรุงเทพฯ ผู้จัดการ        :, 2550
The Art and craft of montage / Simon Larbalestier, London : Mitchell Beazley,1993
 Art and illusion / E. H. Gombrich, London : Phaidon, 1959.
Designing for the greater good : the best of cause-related marketing and nonprofit design / Peleg Top and Jonathan Cleveland, New York : Collins
Design : imprint of HarperCollins, 2010
 An Introduction to the arts of Thailand, Van Beek, Steve, 1944- Hong Kong : Travel, c1985.
The Ford Foundation, 1952-2002 : celebrating 50 years of partnership, New Delhi : The Foundation, 2002
Artschool how to paint & draw : drawing, watercolour, oil & acrylic, pastel / Hazel Harrison, London : Anness Publishing, c2008
 Artspeak : a guide to contemporary ideas, movements, and buzzwords, 1945 to the present / Robert Atkins, New York : Abbeville Press Publishers, 1997
Artspoke : a guide to modern ideas, movements, and buzzwords, 1848-1944
 Robert Atkins, New York : Abbeville Press, 1993.Art, context and criticism, Kissick, John, Madison, Wis. : Brown & Benchmark, c1993.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้งในห้องสมุดและสถานที่จริง
 - หอศิลปวัฒนธรรม ต่างๆในประเทศไทย
- วัดต่างๆที่สำคัญต่อประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
- แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย
 - โรงงานอุตสาหกรรมทางด้านศิลปะที่มีชื่อเสียง
- แกลลอรี่
- บ้านศิลปินแห่งชาติ
- พิพิธภัณฑ์
วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ
 - Art 4D
- Fine Arts
 - Aesthetica - The Art and Culture Magazine
 - ART PAPERS, based in Atlanta, US
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ
 http://www.deviantart.com/
 http://www.art.net/
 www.artinfo.com
 http://www.artbabble.org/
http://www.artcyclopedia.com/
http://www.artdaily.org/
 http://www.theartsmap.com/
http://www.blackbird.vcu.edu/
http://designobserver.com/
 http://www.interartcenter.net/
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   ผลงานการสร้างสรรค์
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การตรวจสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ผลงานสร้างสรรค์ วิธีการให้คะแนนผลงาน และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เชิญผู้เชี่ยวชาญในสาขาจากภายนอกสถาบัน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากผลงาน และข้อมูลการค้นคว้า