สรีรวิทยาของพืช

Plant Physiology

1.1 เข้าใจเกี่ยวกับความหมายความสำคัญและขอบเขตของสรีรวิทยาของพืช
1.2 เข้าใจเกี่ยวกับเซลล์และองค์ประกอบของเซลล์พืชที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึม
1.3 เข้าใจเกี่ยวกับสารประกอบที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึม
1.4 เข้าใจกระบวนการเมแทบอลิซึมของพืช เช่น การหายใจ การสังเคราะห์แสง
1.5 เข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารต่าง ๆ ในพืช ตลอดจนกระบวนการตรึงไนโตรเจนของพืช
1.6 เข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับน้ำ  ในเรื่องการดูดน้ำการลำเลียงน้ำและการคายน้ำ
1.7 เข้าใจเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
1.8 เข้าใจเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของเซลล์พืช  หน้าที่ทางสรีรวิทยาและเมทาบอลิซึมขององค์ประกอบทางเคมีของเซลล์พืช เช่น คาร์โบไฮเดรต กรดอมิโนและโปรตี เอนไซม์ กรดไขมันและลิปิด กรดนิวคลีอิค วิตามิน และเกลือแร่   ตลอดจนกระบวนการเมทาบอลิซึมต่าง ๆที่เกิดขึ้นในพืช เช่น การหายใจ การสังเคราะห์แสงการตรึงไนโตรเจน ธาตุอาหารพืช และการดูดซึม การเคลื่อนย้ายลำเลียงธาตุอาหารในพืช   ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำกับพืช   สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช
นักศึกษาขอคำปรึกษาและคำแนะนำได้ วันจันทร์– ศุกร์ ที่สาขาพืชศาสตร์ เวลา 8.30-16.30 น.
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
จะมีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม    จริยธรรม
- ร้อยละ ๘๐ ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษา ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- การบรรยาย ยกตัวอย่าง การคิด วิเคราะห์ ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน
- ทดลองในห้องปฏิบัติการและในพืชทดสอบ
- ทดสอบโดยข้อเขียน และการประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากาการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- นำความรู้ทางสรีรวิทยาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชมาวิเคราะห์เพื่อใช้ในการเรียนในวิชาชีพ  หรือวางแผนในการผลิตพืชให้เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานเป็นกลุ่ม    ฝึกทักษะการเป็นผู้นำกลุ่ม และสมาชิกที่ดี ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
- สังเกตุจากพฤติกรรมของนักศึกษา
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อให้นักศึกษาใช้ ภาษาที่ถูกต้องชัดเจนและกระชับ
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.3, 3.1, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 1.3, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.3 การทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 3.5 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 9 17 25% 25%
4 1.3, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.3, 6.1 บทปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 30%
    สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์.  2548.  สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  252 น
ดนัย บุณยเกียรติ.  2539.  สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.   216 น.
นพดล จรัสสัมฤทธิ์. 2542. สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. สาขาไม้ผล คณะผลิตกรรมการ
เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.  110 น.
สุภาพร รัตนาพันธุ์.  2557.  เอกสารคำสอน.  สรีรวิทยาของพืช.  สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและ
    นอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้
    ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยภาควิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดย
    อาจารย์ในภาควิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผล
การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควร
กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนิสิตและร่วมกันหา
แนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดย
     การสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนิสิต ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุป วางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป