การผลิตสัตว์ปีก

Poultry Production

มีความรู้และเข้าใจสภาพการผลิตสัตว์ปีกในประเทศ การตลาด และการจำหน่าย เข้าใจโรงเรือน พันธุ์การผสมพันธุ์ การฟักไข่ อาหารและความต้องการอาหาร มีทักษะในการเลี้ยงดู เข้าใจในโรคและการป้องกันของสัตว์ปีก ตลอดจนการสุขาภิบาล รวมทั้งมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีก
เพื่อเป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ และสภาพการผลิตสัตว์ ณ ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสภาพการผลิตสัตว์ปีกในประเทศไทย โรงเรือนและอุปกรณ์ พันธุ์และการผสมพันธุ์ อาหารและความต้องการอาหาร การฟักไข่ การสุขาภิบาลและการป้องกันโรค การจัดการเลี้ยงดู รวมถึงการตลาดและการจำหน่าย
นัดหมายล่วงหน้า หรือติดต่อทาง อีเมลล์ suthathip_ch@rmutl.ac.th
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อ      ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
- ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
- การประเมินผลงาน (ภาคปฏิบัติ) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นภาคปฏิบัติของผู้เรียนว่ามีความถูกต้องถูกต้อง และเหมาะสม  ไม่มีการคัดลอกผลงานของนักศึกษาผู้อื่น
- บันทึกการกระทำทุจริตในการสอบ
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสนเนื้อหา
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- ข้อสอบแต่ละหน่วยเรียน โดยการสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงานที่นักศึกษาได้มอบหมายให้ปฏิบัติ
    3.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
    3.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิด และใช้อย่างมีระบบ
- การถามตอบ จากการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และนำเสนอรายงาน
- สอนโดยฝึกให้นักศึกษาแสดงความเห็น และหรือระดมความคิดเพื่อแก้ปัญหา
- สอนโดยใช้ประเด็นการสอนที่สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษามองเห็นภาพของการนำไปใช้ได้จริง
-การจัดสัมมนา
- การสังเกตพฤติกรรม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินจากคำตอบ และข้อคิดเห็น
- ข้อสอบ โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงานที่นักศึกษาได้มอบหมายให้ปฏิบัติ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3  สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การให้ทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้โจทย์งานที่สามารถทำงานร่วมกันได้ หรือ การอภิปรายกลุ่ม โดยการกำหนดหัวข้อที่เป็นประเด็นการผลิตสัตว์ที่กระทบต่อสังคม มอบหมายงานให้ นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม และนำเสนอรายงาน
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงาน และการนำเสนอว่าสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม  ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากการมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
5.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษาวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้นักศึกษาสืบค้น โดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติม
- การนำเสนอรายงาน ให้นักศึกษานำเสนอโดยเลือกใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- การประเมินผลงานรายบุคคล (ผลงาน) ผู้สอนตรวจผลงานของผู้เรียน
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้าน วิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิด และใช้อย่างมีระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 23024307 การผลิตสัตว์ปีก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน 1-18 5
2 การประเมินผลงาน (ผลงาน) การประเมินผลงาน (ผลงาน) 1-18 20
3 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 1-18 5
4 ข้อสอบ สอบ 1-18 40
5 ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียน ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียน 1-18 20
6 ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วม / การส่งงาน ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วม / การส่งงาน 1-18 5
7 การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 1-18 5
เกียรติศักดิ์  สร้อยสุวรรณ. 2545. การผลิตสัตว์ปีก.  พิมพ์ครั้งที่ 2.  กรุงเทพฯ: คณะวิชาสัตวศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนครศรีธรรมราช. 285 น.
นิพนธ์  สุริยานิติกุล. 2541. การผลิตสัตว์. สุรินทร์: ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์บางพระ (สุรินทร์) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลใ 192 น.
ปฐม เลาหะเกษตร. 2540. คู่มือการลี้ยงไก่ไข่ให้ได้กำไร. พิมพ์ครั้งที่ 2.  กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 317 น.
วิโรจน์ จันทรัตน์.  2528.  โรคและการสุขาภิบาลสัตว์ปีก. พิมพ์ครั้งที่ 3.  เชียงใหม่: ภาควิชาเทคโนโลยีทางสัตว์  คณะผลิตกรรมการเกษตร  มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 981 น.
วรวิทย์ วนิชาภิชาติ. 2531. ไข่และการฟักไข่. พิมพ์ครั้งที่ 3.  สงขลา: ภาควิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 240 น.
สุกิจ  ขันธปราบ. 2549. การเลี้ยงสัตว์ปีกแบบอินทรีย์. เชียงใหม่: ภาควิชาเทคโนโลยีทางสัตว์  คณะผลิตกรรมการเกษตร  มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 75 น.
สุชน ตั้งทวีวัฒน์. 2539. การจัดการผลิตสัตว์ปีก. เชียงใหม่: ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 221 น.
สุวรรณ เกษตรสุวรรณ. 2529. ไข่และเนื้อไก่. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสัตวศาสตร์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 382 น.
สุวรรณ เกษตรสุวรรณ, วรรณดา สุจริต, ประทีป ราชแพทยาคม, สุภาพร อิสริโยดม, กระจ่าง วิสุทธารมณ์ และบุญธง ศิริพานิช. การเลี้ยงไก่. 2535. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสัตวศาสตร์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 337 น.
อนุชา แสงโสภณ. 2539. การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 126 น.
อาวุธ ตันโช. 2538. การผลิตสัตว์ปีก. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 256 น.
อรวรรณ  ชินราศรี. 2547. เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก. มหาสารคาม: ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 206 น.
ข้อมูล/สถิติของกรมปศุสัตว์
http://www.dld.go.th
- หนังสือ เอกสารเผยแพร่ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
1.2 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- ผลการทดสอบและผลการประเมินผลงานของนักศึกษา
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน และการวิจัยในชั้นเรียน
- ทวนจากคะแนนสอบ และคะแนนผลงาน / รายงาน