ศัตรูพืชในระบบนิเวศเกษตร

Plant Pest in Agro-ecosystems

1.วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้าน
ต่าง ๆ ดังนี้
1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจถึงบทบาทของศัตรูพืชในระบบนิเวศเกษตรและความสำคัญ
ของศัตรูพืชในทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 เพื่อให้นักศึกษารู้และสามารถจัดประเภทและจำแนกชนิดของศัตรูพืชได้
1.3 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจถึงการแพร่ระบาดของศัตรูพืช การประเมินความเสียหายที่เกิด
จากศัตรูพืชในทางเศรษฐกิจ
1.4 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่เหมาะสมในสภาพปัจจุบัน
และมีความปลอดภัยต่อชีวิตและธรรมชาติ
1.5 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจจริยธรรมในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ข้อจำกัดทางสังคมและ
การเมืองในการควบคุมศัตรูพืช
 
 
เพื่อให้มีการปรับปรุงรายเนื้อหาเพิ่มเติมให้ทันสมัยสอดคล้องกับหลักสูตรที่มีการปรับปรุง
ขึ้นใหม่
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับศัตรูพืช บทบาทของศัตรูพืชในระบบนิเวศเกษตรกรรม ความสำคัญ
ของศัตรูพืชในทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ประเภทและการจำแนกชนิดของศัตรูพืช การ
แพร่ระบาดของศัตรูพืช การประเมินความเสียหายที่เกิดจากศัตรูพืชในทางเศรษฐกิจ วิธีการป้องกัน
และกำจัดศัตรูพืช เทคโนโลยีการป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่เหมาะสมในสภาพปัจจุบัน ความปลอดภัย
ต่อชีวิตและธรรมชาติ
3 ชั่วโมง/สัปดาห์
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1 มีจิตรสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยาย กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับศัตรูพืชและการควบคุม
ประเมินผลจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งในด้านทฤษฎีและหลักปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษาด้านศัตรูพืชทางการ
เกษตรและวิธีการควบคุม
2.2 สามารถติดตามความ
ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาศัตรูพืช
1) บรรยาย มอบหมายงาน
ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง นำมาสรุปและเขียนรายงาน
2) ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติ-
การและภาคสนาม
3) การทำงานกลุ่มเพื่อศึกษางานด้านศัตรูพืชทางการเกษตรโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.1.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.1.2 สอบภาคปฏิบัติ
2.2.1 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล และงานกลุ่ม
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
มอบหมายการค้นคว้าข้อมูลศัตรูพืชทางการเกษตร นำมาเรียบเรียงเป็นรายงานศัตรูพืชตามชนิดพืชที่ปลูกในประเทศไทย
ประเมินผลจากรายงาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายการทำงานกลุ่ม
ประเมินผลกิจกรรมกลุ่ม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต      การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ     การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการนำเสนอผลงาน
สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
ปฏิบัติการในห้องทดลองและ
ปฏิบัติภาคสนาม
ทดสอบภาคปฤิบัติ
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะปฎิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 21011246 ศัตรูพืชในระบบนิเวศเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-4 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 2, 3, 5 การสอบภาคปฏิบัติ 3 ครั้ง 5, 8, 14 20 %
3 การสอบกลางภาค สอบกลางภาคเรียน 9 25
4 งานมอบหมาย ประเมินจากงานที่ส่ง 17 20 %
5 การสอบปลายภาค การสอบปลายภาค 18 25%
1.ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
ชุมพล กันทะ. 2533. หลักการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูในโรงเก็บ. ภาควิชากีฏวิทยา
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ณรรฐพล วัลลีย์ลักษณ์. มปป. แมลงศัตรูผักของประเทศไทย. ภาควิชากีฏวิทยา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
ทวี หอมชง. 2543. แมลงศัตรูของคนและสัตว์. แอ๊ดวานซ์ อะโกร กรุงเทพฯ.
บรรพต ณ ป้อมเพชร. 2525. การควบคุมศัตรูพืชและวัชพืชโดยชีววิธี. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช
โดยชีวินทรีย์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
พระราชบัญญัติกักพืช(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542. 2542. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา, 116
(ตอนที่ 39 ก) , 1-9.
วรรณวิไล อินทนู. 2547. การวินิจฉัยโรคพืชและการจัดการโรค. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิบูลย์ จงรัตนเมธี. 2543. การตรวจวัดประชากรศัตรูพืช. ใน สืบศักดิ์ สนธิรัตน์ (บก.)
การจัดการศัตรูพืช (หน้า 5-14). กรุงเทพฯ: รั้วเขียว.
สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ. 2526. แมลงศัตรูพืชทางการเกษตรของประเทศไทย. ภาควิชาชีววิทยา
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุธรรม อารีกุล. 2508. แมลงศัตรูสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย. ภาควิชากีฏวิทยา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุรเชษฐ์ จามรมาน, วิบูลย์ จงรัตนเมธีกุล, สืบศักดิ์ สนธิรัตน์, และดวงพร สุวรรณกุล. (2543).
หลักการและวิธีการจัดการ. ใน สืบศักดิ์ สนธิรัตน์(บก.). การจัดการศัตรูพืช.
(หน้า 44-58). กรุงเทพฯ: รั้วเขียว.
บรรพต ณ ป้อมเพชร. 2525. การควบคุมศัตรูพืชและวัชพืชโดยชีววิธี. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช
โดยชีวินทรีย์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
พระราชบัญญัติกักพืช(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542. (2542). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา,
116 (ตอนที่ 39 ก) , 1-9.
วรรณวิไล อินทนู. 2547. การวินิจฉัยโรคพืชและการจัดการโรค. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2543. การจัดการศัตรูพืช. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
เวปไซต์เกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืช
1.1 ใช้แบบประเมินผู้สอน
1.2 ใช้แบบประเมินรายวิชา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
 
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ