ออกแบบอุตสาหกรรมเบื้องต้น

Introduction to Industrial Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ รวมทั้งมีทักษะที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สมัยใหม่ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับงานออกแบบอุตสาหกรรมโดยใช้หลักการออกแบบอุตสาหกรรม จิตวิทยาการออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลและแนวคิดของผู้อื่น ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ลอกเลียนแบบ ลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการออกแบบ โดยมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิ์ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถฝึกปฏิบัติการเชื่อมต่อชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ทั้งประเภทงานไม้และโลหะได้ โดยคำนึงถึงผลกระทบจากการปฏิบัติงานไม้และโลหะต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมของผู้ควบคุมงานในโรงงงานอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์ไม่ทุจริตหรือปกป้องตัวเอง ฝึกปฏิบัติรายบุคคล กำหนดให้นักศึกษาออกแบบและเขียนแบบผลิตภัณฑ์งานไม้และโลหะ ให้ทำโครงการฝึกปฏิบัติงานกลุ่ม ทำผลิตภัณฑ์ต้นแบบ จัดโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่
พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ประเมินผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย การศึกษาดูงานนอกสถานที่ประเมินผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ และการจัดทำรายงานสรุป
2.1.1. ความเป็นมาของการออกแบบอุตสาหกรรม
2.1.2. จิตวิทยา และหลักพื้นฐานการออกแบบอุตสาหกรรม
2.1.3. ขั้นตอนการออกแบบ
2.1.4. กลุ่มรูปแบบของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
2.1.5. คุณค่าของงานออกแบบอุตสาหกรรม
2.2.1. บรรยายและยกตัวอย่างผลงานออกแบบของไทยและต่างชาติ
2.2.2. ทำงานกลุ่มและเดี่ยว นำเสนอเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2.2.3. ศึกษาดูผลงานออกแบบนอกสถานที่
2.3.1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
2.3.2. ประเมินผลงานปฏิบัติและกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3. สอบกลางภาคและปลายภาค
3.1.1. คิดสร้างสรรค์งานออกแบบอย่างเป็นระบบ
3.1.2. แก้ปัญหางานออกแบบจากการค้นหาจากแหล่งข้อมูลต่างๆได้
3.2.1. บรรยายและยกตัวอย่างโดยใช้สื่อประกอบ
3.2.2. ปฏิบัติงานเดี่ยวและกลุ่ม
3.2.3. นำเสนอผลงาน พร้อมวิจารณ์และแนะนำ
3.3.1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
3.3.2. พิจารณาจากงานปฏิบัติ และการนำเสนอรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
3.3.3. สอบกลางภาคและปลายภาค
4.1.1. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
4.1.2. ทักษะในการกล้าแสดงออก
4.2.1. จัดกิจกรรมรายเดี่ยวและกลุ่ม
4.2.2. การนำเสนอผลงานที่มอบหมาย
4.3.1 ประเมินจากความเอาใจใส่และมีส่วนร่วมในผลงานเดี่ยวและกลุ่ม
5.1.1. ทักษะการวิเคราะห์รูปทรงในการออกแบบ
5.1.2. ทักษะการสืบค้นและวิเคราะห์ข่าวสารข้อมูลเพื่อนำมาประกอบการออกแบบ
5.2.1. มอบหมายงานเดี่ยวและกลุ่ม
5.2.2. นำเสนอข้อมูลและแหล่งที่มาของการค้นคว้า
5.3.1. ประเมินจากความสมบูรณ์และถูกต้องของผลงาน
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนองานออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ชลธิศ ดาราวงษ์. การจัดการผลิตภัณฑ์ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่. กรุงเทพฯ: ธนาเพลส. 2558
นิรัช สุดสังข์. ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ. โอเดียนสโตร์. 2549
วัชรินทรื จรุงจิตสุนทร. หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: iDESIGN Publishing. 2550
สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. การศึกษาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์. 2550
สาคร คันธโชติ.วัสดุผลิตภัณฑ์. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการ.ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.(โรเนียว). 2523
อำนวย คอวนิช. อุตสาหกรรมไม้ขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 2523
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Pinterest Designboom
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา แบบประเมินความพึงพอใจหลังจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่
2.1   แตงตั้งกรรมการหรือผู้สังเกตการสอนโดยสาขาวิชา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4  จัดทำรายงานสรุปผลรายบุคคลหลังจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3   ศึกษาดูงานนอกสถานที่
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3   เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภายนอกมาสาธิตและร่วมบรรยาย
5.4   จัดกิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่