การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

Plant Tissue Culture

1.1   มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคขั้นพื้นฐานของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  ประโยชน์ของเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมห้องและเครื่องมือในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อาหาร  การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเริ่มต้นไปเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก ธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตร
       1.2 นำความรู้และทักษะด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง
       1.3 มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบวิชาชีพด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และอาชีพที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน
       1.4 มีทักษะปฏิบัติด้านการเตรียมห้องและเครื่องมือในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อาหาร  การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเริ่มต้นไปเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก
เพื่อฝึกทักษะด้านการวิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการนำเทคโนโลยีด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชมาใช้ในการผลิตพืชสวน เพื่อการค้าและการจัดจำหน่ายในรูปแบบต่างๆ  รวมถึงการเพิ่มพูนความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและนำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการผลิตและการจัดจำหน่าย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติถึงหลักการและเทคนิคขั้นพื้นฐานของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  ประโยชน์ของเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมห้องและเครื่องมือในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  อาหาร  การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเริ่มต้นไปเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช  การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก ธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตร
นักศึกษาขอคำปรึกษาและคำแนะนำได้ วันจันทร์– ศุกร์ ที่สาขาพืชศาสตร์ เวลา 8.30-16.30 น.
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.2   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การสอนแบบบรรยาย
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
- ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
. ข้อสอบอัตนัย
        - ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
การสอนแบบ  Problem Base Based Learning โดยให้ทำโครงงานพิเศษการขยายพันธุ์ พืชโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ คนละ  1 ชนิด
งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
       - ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ
1  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้นักศึกษาเป็นผู้แบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
1. การสังเกต
2. การประเมินตนเอง
3. การประเมินโดยเพื่อน
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
แนะนำและสาธิตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต โดยกำหนดให้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูล
การนำเสนองาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 16 25% 20%
2 1.1 การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 4.2 และ 5.2 นำเสนอรายงาน 14 15 5%
4 2.1 และ 3.1 ปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 40%
ประศาสตร์ เกื้อมณี. 2538. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 158 หน้า
รังสฤษดิ์  กาวีต๊ะ. 2541. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : หลักการและเทคนิค. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ. 219 น.
ประศาสตร์  เกื้อมณี. 2536. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ. 158 น.
ปิยะดา ตันตสวัสดิ์ และ อารีย์ วรัญญูวัฒก์. 2551. บทปฏิบัติการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. สำนักพิมพ์บริษัท เอเจนเทค จำกัด. กรุงเทพฯ. 109 หน้า
ศิวพร จำรัสพันธุ์. 2546. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 187 หน้า.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯลฯ
           ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์  ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
        สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของ
รายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยอาจารย์ประจำหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป