วัสดุวิศวกรรม
Engineering Materials
1. รู้เกี่ยวกับวัสดุต่างๆในงานวิศวกรรมโยธา
2. เข้าใจมาตรฐานต่างๆในงานวิศวกรรม
3. เข้าใจคุณสมบัติต่างๆ ของวัสดุในงานวิศวกรรมและการนำไปใช้งาน
4. เข้าใจขั้นตอนพื้นฐานการผลิตวัสดุในงานวิศวกรรม
5. เห็นความสำคัญของขั้นตอนผลิตวัสดุต่างๆในงานวิศวกรรมโยธา
2. เข้าใจมาตรฐานต่างๆในงานวิศวกรรม
3. เข้าใจคุณสมบัติต่างๆ ของวัสดุในงานวิศวกรรมและการนำไปใช้งาน
4. เข้าใจขั้นตอนพื้นฐานการผลิตวัสดุในงานวิศวกรรม
5. เห็นความสำคัญของขั้นตอนผลิตวัสดุต่างๆในงานวิศวกรรมโยธา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้วัดสุวิศวกรรม เช่น โลหะ โพลิเมอร์ พลาสติก ยางมะตอย ไม้ คอนกรีต เซรามิค และวัสดุเชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปรความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมายสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้วัดสุวิศวกรรม เช่น โลหะ โพลิเมอร์ พลาสติก ยางมะตอย ไม้ คอนกรีต เซรามิค และวัสดุเชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปรความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมายสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนั้นวัสดุต่างๆในงานวิศวกรรมโยธา ยังเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของสิ่งก่อสร้าง ความปลอดภัยในชีวิต ดังนั้นจำเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่นๆ อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ทั้ง 6 ข้อ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม และจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา ตามที่ระบุไว้
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2. มีความรอบครอบ มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
5. สามารถวิเคราะห์เลือกวัสดุให้เหมาะสมกับงาน
6. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2. มีความรอบครอบ มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
5. สามารถวิเคราะห์เลือกวัสดุให้เหมาะสมกับงาน
6. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกในเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้อง แล้วให้นักศึกษาร่วมอภิปรายแนวปฏิบัติที่ดีและเหมาะสม
การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากวารสาร สิ่งพิมพ์ และเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย
1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2 งานที่ได้รับมอบหมายมีความ ถูกต้องและเหมาะสมทั้งด้านเนื้อหาและการอ้างอิง
2 งานที่ได้รับมอบหมายมีความ ถูกต้องและเหมาะสมทั้งด้านเนื้อหาและการอ้างอิง
มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้วัดสุวิศวกรรม เช่น โลหะ โพลิเมอร์ พลาสติก ยางมะตอย ไม้ คอนกรีต เซรามิค และวัสดุเชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปรความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมายสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ
2.2.1 บรรยายประกอบสื่อการสอน เช่น ตำรา เอกสารประกอบการสอน ตัวอย่างของจริง
2.2.2 สาธิตประกอบการอธิบาย
2.2.2 สาธิตประกอบการอธิบาย
2.3.1 ประเมินจากระดับผลการทดสอบ (โดยการเก็บคะแนนระหว่างภาคเรียน)
2.3.2 ประเมินจากผลการทดสอบ (ปลายภาคเรียน)
2.3.2 ประเมินจากผลการทดสอบ (ปลายภาคเรียน)
2.3.1 ประเมินจากระดับผลการทดสอบ (โดยการเก็บคะแนนระหว่างภาคเรียน)
2.3.2 ประเมินจากผลการทดสอบ (ปลายภาคเรียน)
2.3.2 ประเมินจากผลการทดสอบ (ปลายภาคเรียน)
3.2.1 อภิปรายกลุ่ม
3.2.2 ศึกษากรณีตัวอย่างประเด็นของปัญหาต่างๆ
3.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.2.2 ศึกษากรณีตัวอย่างประเด็นของปัญหาต่างๆ
3.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์เกี่ยวกับวัสดุต่างๆในงานวิศวกรรมโยธา
3.3.2 วัดผลจากงานที่มอบหมาย การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหา
3.3.2 วัดผลจากงานที่มอบหมาย การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหา
4.1.1 ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมห้อง
4.1.2 ทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
4.1.3 ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และส่งงานทันเวลา
4.1.2 ทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
4.1.3 ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และส่งงานทันเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมอบหมายงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.2.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นบทบาทความเป็นผู้นำหรือผู้ร่วมงานอย่างเหมาะสม
4.2.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นบทบาทความเป็นผู้นำหรือผู้ร่วมงานอย่างเหมาะสม
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านความสัมพันธ์บุลคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 |
1 | ENGCC303 | วัสดุวิศวกรรม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1-5 6-10 | สอบเก็บคะแนน และสอบกลางภาคเรียน สอบเก็บคะแนน และสอบปลายภาคเรียน | 8 17 | 40% 40% |
2 | 1-11 | งานที่รับมอบหมาย | 1-7,8-16 | 10% |
3 | 1-11 | การเข้าชั้นเรียน | 1-7,8-16 | 10% |
ชุมพร ศฤงคารศิริ. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2545.
มณฑล ฉายอรุณ. วัสดุอุตสาหกรรม. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตขอนแก่น.
มนัส สถิรจินดา. เหล็กหล่อ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533.
แม้น อมรสิทธิ์ และ สมชัย อัครทิวา. วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชั่น
แนลเอ็นเตอร์ไพรส์ อิงค์, 2544.
เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์. วัสดุศาสตร์มูลฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
เอกสิทธิ์ นิสารัตนพร. เอกสารประกอบการสัมนา.
http://www.qlickbranding.com/learn/chap7/03.html
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/8/1/structure/course_outline3.html
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0628/deformation-
coursewares.mju.ac.th:81/e-learning47/ea341/lesson4/ch04_3.pdf
www.ic.kmutnb.ac.th/webpage/.../sci-tech-intro-ASTM-keynote-2008.pd...
www2.lib.kmutt.ac.th/db_manual/online_db/astm.ppt
http://siamkaewkumsai.blogspot.com/2010/09/how-to-conduct-failure-analysis.html
http://siamkaewkumsai.blogspot.com/2009/08/blog-post_21.html
http://www.saha9.co.th/FAQ.htm
http://www.mtec.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=166&Itemid=178
http://www.trachang.co.th/Product/143/145/
http://www.trachang.co.th/Product/
http://www.sherasolution.com/th/trader/products/application/floorapplication/series/29339/info/132/
http://www.thaiwoodcentral.com/
http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php?book=3&chap=6&page=t3-6-infodetail03.html
http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/metalswu/lesson2-30.htm http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/284/extra1/transparency/6/glass_files/frame.htm
http://www.mne.eng.psu.ac.th/knowledge/student/BOY/mechanical.htm
http://www.mne.eng.psu.ac.th/knowledge/student/BOY/PROPERTY.HTM
มณฑล ฉายอรุณ. วัสดุอุตสาหกรรม. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตขอนแก่น.
มนัส สถิรจินดา. เหล็กหล่อ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533.
แม้น อมรสิทธิ์ และ สมชัย อัครทิวา. วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชั่น
แนลเอ็นเตอร์ไพรส์ อิงค์, 2544.
เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์. วัสดุศาสตร์มูลฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
เอกสิทธิ์ นิสารัตนพร. เอกสารประกอบการสัมนา.
http://www.qlickbranding.com/learn/chap7/03.html
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/8/1/structure/course_outline3.html
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0628/deformation-
coursewares.mju.ac.th:81/e-learning47/ea341/lesson4/ch04_3.pdf
www.ic.kmutnb.ac.th/webpage/.../sci-tech-intro-ASTM-keynote-2008.pd...
www2.lib.kmutt.ac.th/db_manual/online_db/astm.ppt
http://siamkaewkumsai.blogspot.com/2010/09/how-to-conduct-failure-analysis.html
http://siamkaewkumsai.blogspot.com/2009/08/blog-post_21.html
http://www.saha9.co.th/FAQ.htm
http://www.mtec.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=166&Itemid=178
http://www.trachang.co.th/Product/143/145/
http://www.trachang.co.th/Product/
http://www.sherasolution.com/th/trader/products/application/floorapplication/series/29339/info/132/
http://www.thaiwoodcentral.com/
http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php?book=3&chap=6&page=t3-6-infodetail03.html
http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/metalswu/lesson2-30.htm http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/284/extra1/transparency/6/glass_files/frame.htm
http://www.mne.eng.psu.ac.th/knowledge/student/BOY/mechanical.htm
http://www.mne.eng.psu.ac.th/knowledge/student/BOY/PROPERTY.HTM
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ประเมินโดยนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 ประเมินโดยนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ