มโนทัศน์ทางการสร้างสรรค์ความคิด
Creative Thinking
เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาครบทุกเนื้อหาแล้ว นักศึกษาสามารถ
ใช้กระบวนสร้างมโนทัศน์ความคิดสร้างสรรค์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ประกวดด้านความคิดสร้างสรรค์สู่ความเป็นไปได้ในการผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์ในชีวิตประจำวัน ใช้วัสดุท้องถิ่น ผสานกับเทคโนโลยีรูปแบบต่าง ๆ
4. แสดงแนวคิดออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับการประกวด
ใช้กระบวนสร้างมโนทัศน์ความคิดสร้างสรรค์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ประกวดด้านความคิดสร้างสรรค์สู่ความเป็นไปได้ในการผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์ในชีวิตประจำวัน ใช้วัสดุท้องถิ่น ผสานกับเทคโนโลยีรูปแบบต่าง ๆ
4. แสดงแนวคิดออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับการประกวด
เพื่อเปลี่ยนแปลงเนื้อหาให้ทันสมัยสอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และฝึกปฏิบัติการเขียนผังความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ ศึกษาเทคโนโลยีรูปแบบต่าง ๆ มาปรับใช้กับวัสดุท้องถิ่น และออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม โดยมุ่งสนองนโยบายการพัฒนาบัณฑิตที่พึงประสงค์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับมโนทัศน์เบื้องต้นของเทคโนโลยี วิวัฒนาการของเทคโนโลยีรูปแบบต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนำเข้าแนวคิดและวิธีการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์ วัสดุพื้นถิ่น แรงงานและวัฒนธรรมของท้องถิ่น มาใช้ในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
อาจารย์ประจำรายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายบุคคลที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.2 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 ปลูกฝังจรรยาบรรณของนักออกแบบ
1.2.3 ปลูกฝังงานพื้นฐานเพื่อฝึกความมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา
1.2.4 ให้นักศึกษาทำงานรายเดี่ยว หรือฝึกความรับผิดชอบ และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
1.2.2 ปลูกฝังจรรยาบรรณของนักออกแบบ
1.2.3 ปลูกฝังงานพื้นฐานเพื่อฝึกความมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา
1.2.4 ให้นักศึกษาทำงานรายเดี่ยว หรือฝึกความรับผิดชอบ และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียนและการแต่งกาย
1.3.2 ประเมินจากการพฤติกรรมการปฏิบัติการและการสอบ
1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงาน หน้าที่ที่ได้รับ การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
1.3.2 ประเมินจากการพฤติกรรมการปฏิบัติการและการสอบ
1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงาน หน้าที่ที่ได้รับ การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้วิธีการฝึกปฏิบัติตามเนื้อหา โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการนำไปใช้
2.2.2 เน้นให้นำความรู้ทางด้านวัสดุศาสตร์ดั้งเดิม และทันสมัย เทคโนโลยีมาเชื่อมโยง
2.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนในการบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 เน้นให้นำความรู้ทางด้านวัสดุศาสตร์ดั้งเดิม และทันสมัย เทคโนโลยีมาเชื่อมโยง
2.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนในการบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี
2.3.2 การปฏิบัติประเมินจากการสร้างสรรค์ ทำเขียนแบบร่าง
2.3.2 การปฏิบัติประเมินจากการสร้างสรรค์ ทำเขียนแบบร่าง
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้ การคิดสร้างสรรค์นำมาใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้ การคิดสร้างสรรค์นำมาใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ฝึกการใช้ความคิดสร้างสรรค์ โดยประยุกต์จากองค์ความรู้ในรายวิชา
3.2.2 จัดการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติจริง
3.2.2 จัดการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติจริง
3.3.1 ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากผลการปฏิบัติงาน
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมรายบุคคล และกิจกรรมที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม
4.2.2 สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร
4.2.3 สอดแทรกกรณีศึกษา ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
4.2.2 สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร
4.2.3 สอดแทรกกรณีศึกษา ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษารายบุคคล หรือขณะร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ งานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือการประสานงาน หรือความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ งานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือการประสานงาน หรือความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 จัดการเรียนการสอนที่ต้องอาศัยทักษะคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือสื่อสาร
5.2.2 จัดการเรียนการสอนที่สืบค้นข้อมูล และเทคโนโลยีในการนำเสนองาน
5.2.3 จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอผลงาน
5.2.2 จัดการเรียนการสอนที่สืบค้นข้อมูล และเทคโนโลยีในการนำเสนองาน
5.2.3 จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอผลงาน
5.3.1 จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอผลงาน
5.3.2 ตรวจสอบข้อมูลที่สืบค้น และการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง
5.3.3 ทักษะการฟัง และการพูด จากการทำงานรายเดี่ยว หรือกลุ่มในการปฏิบัติการ ทักษะการเขียน การอ่านจากการเขียนรายงานภาคเอกสาร และผลการปฏิบัติ
5.3.2 ตรวจสอบข้อมูลที่สืบค้น และการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง
5.3.3 ทักษะการฟัง และการพูด จากการทำงานรายเดี่ยว หรือกลุ่มในการปฏิบัติการ ทักษะการเขียน การอ่านจากการเขียนรายงานภาคเอกสาร และผลการปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 1. คุณธรรม จริยธรรม | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา | 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ | 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม | 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1.1. มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม | 1.2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม | 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ |
1 | 44012011 | มโนทัศน์ทางการสร้างสรรค์ความคิด |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.3 | การเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา การแต่งกาย การตรงต่อเวลา | 1-17 | 10 % |
2 | 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2 | สอบกลางภาค | 9 | 15 % |
3 | 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2 | สอบปลายภาค | 18 | 15 % |
4 | 3.1.2, 4.1.3, 5.1.1 | ผลการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ | 1-16 | 60 % |
- เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. การคิดเชิงสร้างสรรค์ กรุงเทพมหานคร: ซัคเซสมีเดีย, 2537.
- ดวงฤทัย ธำรงโชติ. เทคโนโลยีภาชนะบรรจุ กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2550.
- ต่อวงค์ ปุ้ยพันธวงศ์. ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2553.
- สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. ผลของเทคโนโลยีที่มีต่อการออกแบบ: กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2550.
- วีระ สุดสังข์. การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์: กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน์, 2550.
- อุดมศักดิ์ สาริบุตร. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม: กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2549.
- ดวงฤทัย ธำรงโชติ. เทคโนโลยีภาชนะบรรจุ กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2550.
- ต่อวงค์ ปุ้ยพันธวงศ์. ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2553.
- สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. ผลของเทคโนโลยีที่มีต่อการออกแบบ: กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2550.
- วีระ สุดสังข์. การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์: กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน์, 2550.
- อุดมศักดิ์ สาริบุตร. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม: กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2549.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2.1 ผลการสอบ และผลงานภาคปฏิบัติ
2.2 จากการประเมินของนักศึกษา
2.2 จากการประเมินของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา
4.1 มีการประเมินผลการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
มาวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น
มาวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น