แคลคูลัส 3 สำหรับวิศวกร

Calculus 3 for Engineers

1.1 แก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์เบื้องต้นและการประยุกต์
1.2 แก้ปัญหาการหาปริพันธ์เชิงตัวเลขและปริพันธ์ไม่ตรงแบบ
1.3 เข้าใจการหาปริพันธ์ตามเส้นเบื้องต้น
1.4 เข้าใจอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์
1.5 คำนวณลำดับและอนุกรมของจำนวน
1.6 เข้าใจการกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน
1.7 เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาชีพและการศึกษาต่อระดับสูง
1.    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น
  2.    เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ ไปใช้เป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ  เห็นความเชื่อมโยง  ระหว่างเนื้อหาที่เรียนและวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
       สิ่งที่มีการปรับปรุง

ด้านการเรียนการสอน

จากข้อเสนอแนะของนักศึกษา    ในรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา   ( มคอ.5 )  ของภาค
การศึกษาก่อนหน้า   นักศึกษาต้องการให้มีการเรียนการสอนที่หลากหลายนอกจากการสอนโดยใช้กระดาน  จึงได้มีการวางแผนการสอนให้นักศึกษามีกิจกรรมร่วมแบ่งกลุ่ม กันแก้โจทน์ปัญหาระหว่างการเรียนการสอน พร้อมใช้สื่อการสอนด้านเทคโนโลยีมากขึ้น

ด้านเนื้อหา

จากข้อเสนอแนะของนักศึกษา    ในรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา   ( มคอ.5 )  ของภาค
การศึกษาก่อนหน้า   นักศึกษาต้องการให้ยกตัวอย่างของเนื้อหาที่เรียนที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพมากขึ้น  จึงได้เพิ่มตัวอย่างในหน่วยที่  1 และหน่วยที่ 3
ศึกษาเกี่ยวกับ สมการเชิงอนุพันธ์เบื้องต้นและการประยุกต์ การปริพันธ์เชิงตัวเลข ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ ปริพันธ์ตามเส้นเบื้องต้น อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน
 
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
              š1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
              š1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
              ˜1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคม
                              และสิ่งแวดล้อม
              š1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย  การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2 สอดแทรกการมีจิตสำนึกสาธารณะระหว่างการเรียนการสอน เช่น การดูและรักษาความสะอาดห้องเรียน
1.2.3 ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม  และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 1.2.4 ทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบต่าง ๆ ในชั้นเรียน
                  1.3.1  สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
                 1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
                 1.3.3  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง  
                           โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
                 1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜ 2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š 2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
         2.2.1. บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน
                2.2.2. การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน 
                2.2.3. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆ
                2.2.4. การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้า ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป
                           และนำเสนอการศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem
2.3.1  การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค
2.3.2  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
2.3.3  พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
                š 3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
                ˜ 3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
             3.2.1. บรรยาย และมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษาเพิ่มเติม
             3.2.2. มอบหมายให้ทำงาน  ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
             3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
 3.3.1.  ทดสอบกลางภาคและทดสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ และ 
                           นำไปใช้  หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์
                 3.3.2. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการเสนอความคิดเห็นในการ
                           แก้ปัญหาด้วยวิธีอื่นๆ หรือปัญหาอื่นๆ ที่ใช้ความรู้ในเรื่องที่เรียนมาแก้ปัญหา
                3.3.3.  พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
 ˜ 4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
            š 4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            š 4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
            š 4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม  โดยให้หมุนเวียนกันเป็นผู้นำ  และผู้นำเสนอ
4.2.2 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.2.3 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
4.3.1 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
4.3.2 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน   
4.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม
š 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜ 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
5.2.2 กำหนดให้นักศึกษานำเสนองาน  โดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเนื้อหา
5.3.1 พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
5.3.2 พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 FUNMA107 แคลคูลัส 3 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 , 4.1 , 5.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ ร้อยละ 5
2 2.1 , 3.1 , 3.2 การทดสอบย่อยหลังเรียน 4 ครั้ง สัปดาห์ที่ 4 , 6, 12 , 14 ร้อยละ 30
3 2.1 , 3.1 , 3.2 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 ร้อยละ 30
4 4.1 , 5.1 , 5.2 การนำเสนองาน การรายงาน ทุกสัปดาห์ ร้อยละ 5
5 2.1 , 3.1 , 3.2 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 ร้อยละ 30
ประยงค์   ใสนวน.  เอกสารประกอบการสอน แคลคูลัส 3 สำหรับวิศวกร.  
               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  เชียงใหม่. 2558.
 
ไม่มี
กมล  เอกไทยเจริญ แคลคูลัส 2, ธีรพงษ์การพิมพ์, กรุเทพฯ, 2537 ทศพร  จันทร์คง และสิรินาฏ  สุนทรารันย์, แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2542 ทศพร  จันทร์คง และสิรินาฏ  สุนทรารันย์, แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 2 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2540 ศรีบุตร  แววเจริญ และชนศักดิ์  บ่ายเที่ยง, คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์, วงตะวัน จำกัด, กรุงเทพ ฯ, 2540 พรชัย สารทวาหา แคลคูลัส 3, พิทักษ์การพิมพ์, กรุงเทพฯ, 2548 Anton  Howard, Calculus with Analytics Geometry, 7th Edition, John  Wiley & Sons, Inc, 2002 James  Stewart, Single Variable Calculus, 3rd , Brooks\Cole Publishing Company, 1995. E. Kreyszig, Advance Engineering Mathematics, 6th Edition, John  Wiley & Sons, Inc, 1988

      9.  M.R. Spiegle, Advance Calculus, Schaum’s Outline Series, McGraw-Hill Book   
            company, 1963.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.4  ขอเสนอแนะผ่านE-mail   ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
    2.1  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
    2.2  ผลการสอบ
    2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
    3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
    3.2  การวิจัยในชั้นเรียน  และการวิจัยนอกชั้นเรียน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
    4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
    4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
    5.1  ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
   5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน ทุกปีการศึกษาเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยในชั้นเรียนของอาจารย์ผู้สอน