อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น

Introduction to Agro-Industry

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเกษตร องค์ประกอบคุณลักษณะการเสื่อมเสีย การเก็บรักษาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ หลักการและวิธีการแปรรูปการควบคุมและประเมินคุณภาพ มาตรฐานและข้อกำหนดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร ภาชนะบรรจุการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และจรรยาบรรณวิชาชีพ
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับข่าวสารปัจจุบันด้านอาหารตั้งแต่ องค์ประกอบ คุณลักษณะการเสื่อมเสีย การเก็บรักษาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ หลักการและวิธีการแปรรูปการควบคุมและประเมินคุณภาพ มาตรฐานและข้อกำหนดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร และ ภาชนะบรรจุการพัฒนาผลิตภัณฑ์
       เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย และเหมาะสม
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ประกอบ การเสื่อมเสีย การเก็บรักษา วิธีการแปรรูป การควบคุมและการตรวจสอบคุณภาพอาหาร (ทางเคมี กายภาพ จุลินทรีย์และประสาทสัมผัส) ของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหาร ความปลอดภัยในอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร Fundamental science of food: food composition, deterioration, storage conditions, processing methods, controlling and examining of food qualities (physical, chemical, microorganism and sensory) of raw materials and finish products, food packaging, food safety and food product development
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
วันพุธ พฤหัส เวลา 16.30 - 17.30 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
e-mail; surinipo@gmail.com เวลา 19.00 – 20.00 น. วันจันทร์ถึงพฤหัส
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม และจริยธรรม ของการใช้สารเคมี หรือสารเจือปนในอุตสาหกรรมอาหาร โดยตระหนักถึงผู้บริโภคเป็นสำคัญ
1. ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และจำนวนครั้งที่นักศึกษาทีถูกร้องเรียนเรื่องการกระทำทุจริต
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
1. การบรรยายให้ความรู้ด้านทฤษฎี
2. ตั้งทำถามระหว่างการสอน ให้นักศึกษาช่วยกันอภิปรายโดยใช้หลักการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1. ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินงานคะแนนสอบ
˜4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
หลังจากการการสอนมีการมอบหมายงานทั้งลักษณะงานรายบุคคล และงานทำเป็นกลุ่ม
ประเมินจากกระบวนการทำงานของนักศึกษาจนได้ผลงาน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
˜5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
1. สอนให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจาก Internet และ Database ที่ต่างๆ และเลือกใช้ข้อมูลที่ถูกต้อง
2. มอบหมายงานให้นักศึกษาหาข้อมูลจากฐานข้อมูลที่ถูกต้อง และแปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิดในทางที่ถูกต้อง
1. ประเมินจากการรายงานการหาข้อมูลของงนักศึกษา และประเมินความถูกต้อง และปริมาณการอ้างอิงจากสื่ออิเล็กทรอนิคจากข้อมูลที่นักศึกษาสืบค้นมา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7
1 BSCFT001 อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1. ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และจำนวนครั้งที่นักศึกษาทีถูกร้องเรียนเรื่องการกระทำทุจริต 1-17 10%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 1. ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน 2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินงานคะแนนสอบ 8,16 70%
3 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 4.1 ประเมินจากกระบวนการทำงานของนักศึกษาจนได้ผลงาน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม 5.4 สอนให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจาก Internet และ Database ที่ต่างๆ และเลือกใช้ข้อมูลที่ถูกต้อง 5.4 มอบหมายงานให้นักศึกษาหาข้อมูลจากฐานข้อมูลที่ถูกต้อง และแปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิดในทางที่ถูกต้อง 1-7 และ 9-16 20%
Campbell-Platt, G. (2017). Food science and technology. John Wiley & Sons.
คณาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. (2539). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 504 หน้า.
www.fda.moph.go.th
http://www.fda.gov
www.sciencedirect.com
www.ift.org/cms
www.thaifoodscience.com
www.fostat.org/index.php
www.foodsciencetoday.com
www.nfi.or.th/index.asp
www.foodfocusthailand.com/home.php
1.1  แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2  แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอนเมื่อหมดภาคการศึกษา
2.1  สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนในแต่ละรายวิชา โดยให้หัวหน้าสาขาวิชาในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา หรือ ประเมินการสอนโดยนักศึกษา หรือประเมินจากอาจารย์ผู้สอนเอง
3.1  ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและ ธุรกิจด้านอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2  ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย  และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจาก มคอ.2 ฉบับปรุบปรุงปีการศึกษา 2560 ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาอุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
3.3 ปรับปรุงโดยเพิ่มการปูพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เช่น การคำนวณ เนื้อหาทางเคมี และปรับการสอนให้ช้าลง และสอนตั้งคำถาม ยกกรณีตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เพราะนักศึกษาใหม่ต้องการเวลาปรับตัวและมีกิจกรรมของมหาวิทยาลัยจำนวนมาก จากมคอ.5 ปีการศึกษา 2560
 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ด้วยการทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาอย่างน้อย 3 คน ในรายวิชาดังกล่าว โดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาดังกล่าว หรือ ประเมินการสอนโดยนักศึกษา หรือประเมินจากอาจารย์ผู้สอนเอง
ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5