การสำรวจและวิจัยสำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม

Survey and Research for Tourism Industry and Hotel

เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในขั้นตอนและเข้าใจในกระบวนการวิจัย สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปปรับประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาได้จริง
          เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์เกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมในท้องถิ่นและระดับภูมิภาคได้จริง
             ศึกษาความสำคัญและประโยชน์ของการวิจัยเพื่อนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมในท้องถิ่นและระดับภูมาค ศึกษาขั้นตอนและกระบวนการวิจัย ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานวิจัยและนำเสนอ โดยให้นักศึกษาเลือกศึกษาวิจัยในหัวเรื่องที่อยู่ในความสนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
š1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริตและสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
š1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
š1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่
š1.4 มีวินัยมีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ
-เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
-อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
-สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
-พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและ การทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
-พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์
-ประเมินผลการจากกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
-เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการ บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ
˜2.3 มีความรู้ในกระบวนการและเทคนิคการวิจัย
-บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
-อภิปรายหลังการทำกิจกรรม
-การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า
- การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบ เทียบกับทฤษฎี
-การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลักใน การเรียนรู้  (Problem – based Learning)
ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษา ค้นคว้า
š3.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา รวมทั้งหาแนวทางป้องกันแก้ไขทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
š3.2 สามารถสาธิต ทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจ
š3.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติจริงตามสถานการณ์
š3.4 สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
- อภิปรายกลุ่ม
-วิเคราะห์กรณีศึกษา พร้อมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข
- การสะท้อนรูปแบบจากการนำเสนอผลงาน
 พิจารณาจากการทำงานรวมกลุ่ม การประสานงานและรักษาอำนาจหน้าที่ ในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี
-มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
- มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
จัดกิจกรรมกลุ่มหรือสถานการณ์จำลอง แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ
ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้
5.1 สามารถใช้ภาษาต่างประเทศใน การฟัง พูด อ่าน และเขียนอย่างมีสิทธิภาพ
š5.2 สามารถสื่อสารกับชาวต่างประเทศได้
š5.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติ
-  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  ทางเว็บไซต์  แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย  และตารางตัวเลข  พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
-  นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล  พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
-ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะในการปฏิบัติวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 13010015 การสำรวจและวิจัยสำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3,1.4, การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-17 10%
2 2,3 การสอบกลางภาค 8 15%
3 1,2,3,4,5 ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 55%
4 2,3 การสอบปลายภาค 17 20 %
-  ศิริชัย กาญจนวาสี ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และดิเรก ศรีสุโข. (2555). การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 6) . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
-  ศิริชัย กาญจนวาสี. (2555). สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 6) . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- อัจฉรา จันทร์ฉาย. (2557). เทคนิคการพยากรณ์เพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: วีพริ้นท์ จำกัด.
- ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2553).เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 12) . กรุงเทพฯ: บริษัท ฐานบัณฑิต จำกัด.
- กัลยา  วานิชย์บัญชา. (2555).สถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 6) . กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด.
- ณหทัย ราตรี. (2556).สถิติเบื้องต้น แนวคิดและทฤษฏี (พิมพ์ครั้งที่ 2) . กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พริ้นท์ จำกัด.
- มัลลิกา บุนนาค. (2555).สถิติเพื่อการวิจัยและตัดสินใจ (พิมพ์ครั้งที่ 8) . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอกสารประกอบการสอน โดย อาจารย์ปานณนาถ  ศักดิ์ศิริคุณ
          ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนใน ข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการแกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ