การโฆษณา

Advertising

1  รอบรู้ในศาสตร์การโฆษณาและศาสตร์สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.มีความรู้ทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม สำหรับงานโฆษณา
3.สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
4.มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
 
ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย ปรับปรุงการประเมินผล และวิธีการสอนให้เหมาะสมกับหน่วยกิต สำหรับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560
ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการโฆษณา ประวัติและวิวัฒนาการ การตลาดกับการโฆษณา การวางแผน การสร้างสรรค์และการผลิตสื่อโฆษณาประเภทต่างๆ การวางแผนสื่อโฆษณา การประเมินผลโฆษณา ธุรกิจตัวแทนโฆษณา กฎหมายและจรรยาบรรณนักโฆษณา และการโฆษณาข้ามวัฒนธรรม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ     รายที่ต้องการ)  โดยประกาศชั่วโมงให้คำปรึกษาหน้าบอร์ดสาขาวิชา และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรก
-นักศึกษาสามารถติดต่อขอคำปรึกษา เกี่ยวกับการเรียน  การทำงานปฏิบัติผ่านทางเครือข่ายสังคม ที่ได้จัดช่องทางไว้ให้
1 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.สอดแทรกในการสอน
2.มอบหมายกิจกรรมกลุ่ม
3.การนำเสนองานและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
4.การเช็คชื่อชื่อเข้าชั้นเรียน
1.ประเมินโดยกลุ่มใช้แบบประเมิน
2.ประเมินจากการร่วมกิจกรรมของหลักสูตร คณะฯ และมหาวิทยาลัย
3.บัญชีเช็คชื่อ
4.ประเมินจากผลงานกลุ่ม
 
1.รอบรู้ในศาสตร์การโฆษณา และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณา
2มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
3  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา        
1การศึกษาค้นคว้าและทำรายงาน
2อภิปรายกลุ่ม
3บูรณาการกับการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม
4.บรรยาย
5.ยกตัวอย่าง
6.กรณ๊ศึกษา
1.สอบทั้งข้อสอบปรนัย  อัตนัย สอบโอเพ่นบุ๊ค
2.ประเมินจากแบบฝึกหัด  
3.ตรวจประเมินรายงาน การอภิปราย
4.ประเมินกิจกรรมในชั้นเรียน 
5. ผลงานหมอบหมาย    
1  สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
2  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (ดำ)
3.มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
1การศึกษาค้นคว้าและทำรายงาน
2อภิปรายกลุ่ม
3บูรณาการกับการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม
4.บรรยาย
5.ยกตัวอย่าง
6.กรณ๊ศึกษา
7.มอบหมายงาน
1ผลงาน  และกิจกรรมในชั้นเรียน
2.รายงาน
3.ข้อสอบอัตนัย
1.มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 
มอบกิจกรรมในชั้นเรียน
มอบหมายงานนอกเวลา
นำเสนองาน
ประเมินกิจกรรมในชั้นเรียน
ประเมินจากงานมอบหมาย
ประเมินจากกระบวนการทำงาน
ประเมินโดยกลุ่ม
1  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
2.มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
มอบหมายงานศึกษาค้นคว้า และนำเสนอด้วยสื่อ และวาจา
ประเมินจากผลงาน  สื่อ และการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ 3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
1 BAACD108 การโฆษณา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,5.3 4.1 การเช็คชื่อ การร่วมกิจกรรม การนำเสนอ ผลงานกลุ่ม ประเมินโดยกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1,2.3, สอบกลางภาค ปลายภาค แบบฝึกหัด แลการสอบแบบ open exam 9และ 17 40 %
3 3.2 ตรวจรายงาน กิจกรรมในชั้นเรียน งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40
4 5.3 ผลงานจากการศึกษา รายงาน กรณีศึกษา 17 10
กัญจนิพัฐ  วงศ์สุเมธรต์.(2549). กระบวนการทำงานโฆษณา. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ                      มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
กัลยากร วรกุลลัฎฐานีย์ และ พรทิพย์  สัมปัตตะวานิช.(2551). การโฆษณาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ:                     สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
เพ็ญศรี  จุลกาญจน์.(2555).  หลักการออกแบบโฆษณา  เอกสารประกอบการสอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร  คณะสิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลล้านนา. 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น http //: www  Kosanathai .com และ  http //: www  adintrend .com 
ตำราเกี่ยวกับการตลาดและการโฆษณา
นิตยสาร Brand Age
นิตยสาร Marketeer
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  การแสดงความคิดเห็น

การประเมินตนเองของผู้เรียน
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   ผลการประเมินตามข้อ 1
2.3   การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4   อาจารย์ผู้สอนประเมินตัวเอง
         ความพึงพอใจการสอน
         ความเหมาะสมของการเตรียมการสอน
         
3.1  บันทึกการสอนเพื่อเสนอการปรับปรุงแก้ไข
3.2   ปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป
        (ด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง)
         4.1  นักศึกษาประเมินตนเอง
         4.2 สัมภาษณ์นักศึกษา
         4.3 ทวนสอบโดยกรรมการทวนสอบประจำหลักสูตร (สุ่มตรวจ)
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  จะได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน ด้านเนื้อหา  กิจกรรม  และการประเมินผล
     และรายละเอียดวิชาในภาคการศึกษาต่อไป  โดยรายงานไว้ใน มคอ.5