เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ไม้

Wood Packaging Technology

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ประวัติและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์จากไม้ ประเภทและชนิดต่างๆ ของไม้ที่เหมาะสมกับบรรจุภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากบรรจุภัณฑ์ไม้กับสินค้าในปัจจุบันและในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และเทคโนโลยีของการผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ชนิดต่างๆ ที่มีประสิทธิ มีความปอดภัย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการให้ความรู้ ความเข้าใจ ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ประวัติและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์จากไม้ ประเภทและชนิดต่างๆ ของไม้ที่เหมาะสมกับบรรจุภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากบรรจุภัณฑ์ไม้กับสินค้าในปัจจุบันและในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และเทคโนโลยีของการผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ชนิดต่างๆ ที่มีประสิทธิ มีความปอดภัย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ประวัติและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์จากไม้ ประเภทและชนิดต่างๆ ของไม้ที่ เหมาะสมกับบรรจุภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากบรรจุภัณฑ์ไม้กับสินค้าในปัจจุบันและในอนาคตอย่างมี ประสิทธิภาพ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และเทคโนโลยีของการผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ชนิดต่างๆ ที่มีประสิทธิ มีความปอดภัย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนวันละ 1 ชั่วโมง(สัปดาห์ละ5ชั่วโมง) อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาผ่าน Email, line, facebook
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล
การไม่เปิดเผยข้อมูล และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
- ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงานของไทย และต่างประเทศ
- กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติออกแบบบรรจุภัณฑ์ไม้
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ เกี่ยวกับ ประวัติและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์จากไม้ ประเภทและชนิดต่างๆ ของไม้ที่เหมาะสมกับบรรจุภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากบรรจุภัณฑ์ไม้กับสินค้าในปัจจุบันและในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และเทคโนโลยีของการผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ชนิดต่างๆ ที่มีประสิทธิ มีความปอดภัย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
-บรรยาย อภิปรายพร้อมยกตัวอย่างผลงาน และการปฏิบัติ  ลงมือฝึกปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนด
-จัดเนื้อหาให้สอดคล้องกันและตรงกับผู้เรียน โดยวิธีบรรยาย อภิปราย การทำโครงงานเดี่ยว การนำเสนองาน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Child Center
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นงานปฏิบัติ
- ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งความรู้ความเข้าใจ
พัฒนาความสามารถในการฝึกปฏิบัติ และเข้าใจการใช้ประโยชน์จากบรรจุภัณฑ์ไม้กับสินค้าใน ปัจจุบันและในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และเทคโนโลยีของการ    ผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ชนิดต่างๆ ที่มีประสิทธิ มีความปอดภัย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
- การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงาน และนำเสนอผลการศึกษา
- อภิปรายกลุ่ม
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด เข้าใจกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ และเทคโนโลยีของการผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ชนิดต่างๆ
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
- พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
- พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
- การนำเสนอรายงาน
- ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
- รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
- พัฒนาทักษะในการสืบค้น ทั้งแหล่งให้ความรู้และข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
- ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงาน จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- นำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
- การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,17 15% 15%
2 3.2,3.3,5.1,5.2,5.3 ศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงานการทำงานกลุ่มและผลงานการอ่าน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1,1.2,1.3,4.1,4.2,4.3,5.1,5.2,5.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เทคนิคงานไม้ โดย ประณต กุลประสูตร, หนังสือ Material Innovation
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ
ความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          - ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
          - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
          - ผลการสอบ
          - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
          - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา
ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ