เตรียมวิทยานิพนธ์

Thesis Preparation

1.1 เพื่อศึกษาทบทวนทฤษฎี  และวิธีการหาข้อมูล การใช้เครื่องมือและวิธีการรวบรวมข้อมูล
1.2 เพื่อฝึกการเขียนอ้างอิง การเขียนรายงานนักศึกษาจะต้องปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์  
1.3 เพื่อจัดทำโครงร่างวิทยานิพนธ์โดยนักศึกษาจะต้องเสนอโครงการต่อคณะกรรมการดำเนินงานวิทยานิพนธ์ที่ภาควิชาแต่งตั้งขึ้น  
1.4 เพื่อจัดทำร่างเอกสารเพื่อใช้เป็นภาคนิพนธ์ในงานวิทยานิพนธ์
เพื่อให้ดำเนินการเรียนการสอนเป็นไปตามวัตถุประสงค์มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติวิธีการจัดทำโครงร่างวิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ ทบทวนวรรณกรรม แนวคิด และทฤษฎี วิธีการจัดหาและวิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาวิธีการเขียนและจัดทำภาคนิพนธ์ด้านสถาปัตยกรรมภายใน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลต่อนักศึกษาสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง /สัปดาห์ โดยระบุเวลา ไว้ในตารางสอน และแจ้งนักศึกษาในชั่วโมงแรกของสัปดาห์
1.2.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมโดยการปลูกฝัง  จิตสำนึก นิสัยที่ดีในการทำวิทยานิพนธ์
1.1.2   มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น และอ้างอิง
          แหล่งที่มาของข้อมูลในการเขียนรายงาน
1.1.3    มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม
1.2.1 การบรรยายให้ความรู้ในการเขียนรายงานและสอดแทรกสื่อการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับรายวิชาและสามารถสร้างจิตสำนึกหรือปลุกเร้าให้นักศึกษาได้ซึมซับจิตสำนึกสาธารณะในการเลือกหัวข้อวิทยานิพนธ์ พร้อมมีคุณธรรม จริยธรรมในการเขียนรายงาน
1.2.2 บรรยายการค้นคว้าหาข้อมูลพร้อมสอดแทรกการมีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ โดยต้องไม่กระทำคัดลอกผลงานการออกแบบหรือลอกรายงานของผู้อื่น
1.2.3 ปลูกฝังความมีวินัย การตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม โดยอธิบายข้อกำหนดการเข้าเรียนของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียน การลด-ถอนรายวิชาหากนักศึกษาไม่มีความพร้อมในการเรียน
1.3.1 ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้สอน
1.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลงานการออกแบบที่แสดงถึงจรรยาบรรณของนักศึกษา การเขียนรายงานมีการอ้างอิงที่มาและบรรณานุกรมในรายงาน
1.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การนำเสนอผลงานและความก้าวหน้าที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาทางการออกแบบเพื่อควบคุมกระบวนการทำวิทยานิพนธ์ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 
2.1.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลงานทางสถาปัตยกรรมภายใน และการทำรายงาน
2.2.1 บรรยาย อภิปราย หลักการ แนวทาง ขั้นตอน วิธีการ ตัวอย่าง รูปแบบการทำรายงานขององค์ความรู้ทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับโครงการต่างๆ ที่นักศึกษาทำการศึกษาวิทยานิพนธ์
2.2.2 บรรยายวิธีการค้นคว้าข้อมูล สอนเทคนิค แนะนำเทคโนโลยีและรูปแบบในการเขียนวิทยานิพนธ์ นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้ ซักถาม และปฏิบัติตามผู้สอน
2.2.3 บรรยาย อภิปราย และมอบหมายให้นักศึกษาจัดทำผลงานนำเสนอทั้งแบบรูปเล่มและการนำเสนอผลงานการออกแบบผ่านทั้งกระบวนการเขียนด้วยมือและคอมพิวเตอร์
2.3.1  ประเมินการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ การแสดงความคิดเห็นและความก้าวหน้าของข้อมูลเนื้อหาวิทยานิพนธ์กับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และกรรมการวิทยานิพนธ์
2.3.2  วัดผล การจัดทำรูปเล่มรายงานและตรวจเนื้อหาที่ทำการค้นคว้ากับอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ที่ปรึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด
2.3.3   วัดผลงานจากการสอบกลางภาค และปลายภาค และผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้จากกรรมการวิทยานิพนธ์
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพโดยบูรณาการความรู้จากการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเพื่อการปฏิบัติผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบโดยการผนวกทักษะความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ การเขียนแบบ การออกแบบ แนวความคิด นำมาสังเคราะห์วางแผนการจัดทำรายงานวิทยานิพนธ์
3.2.1 บรรยายทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติในทางออกแบบ ยกตัวอย่างงาน แนวทางการออกแบบ แนวความคิด มอบหมายงานให้นักศึกษาบูรณาการความรู้ต่างๆโดยค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งภายในและภายนอก เอกสาร หนังสือ อินเตอร์เน็ตและการบันทึกจากสถานที่จริงเพื่อผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและรูปเล่มวิทยานิพนธ์
3.2.2    บรรยายและให้นักศึกษาฝึกปฎิบัติตามขั้นตอน และให้นักศึกษาออกแบบผลงานสถาปัตยกรรมภายนพร้อมรูปเล่มวิทยานิพนธ์ และนำเสนอกับอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ตามระยะเวลาที่กำหนด
3.3.1 ประเมินผลจากการพัฒนาโครงการร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และอาจารย์ผู้สอน และการสอบการนำเสนอย่อย
3.3.1 วัดผลจากงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ตรงต่อเวลา และการสอบนำเสนอผลงานการออกแบบวิทยานิพนธ์
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีโดยสามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม โดยมีภาวะการเป็นผู้นำหรือผู้ตามที่ดีที่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.2.1 บรรยาย พร้อมสอดแทรกการสร้างมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีโดยการให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มตามประเภทของหัวข้อวิทยานิพนธ์เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และค้นคว้าข้อมูล
4.2.2   การมอบหมายค้นคว้าข้อมูลในส่วนข้อมูลพื้นฐานโดยแบ่งกลุ่มให้ศึกษาร่วมกันและให้นักศึกษานำเสนอผลงานการศึกษาต่ออาจารย์ผู้สอนตามเวลาที่กำหนด
4.3.1   ประเมินผลงานการทำงานร่วมกันในชั้นเรียน และการรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนร่วมชั้นและอาจารย์ผู้สอน
4.3.2    ประเมินจากการอภิปรายหน้าชั้นเรียน การประเมินตนเองและเพื่อนในการปฏิบัติงาน
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมโดยสามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมโดยทำผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและจัดทำรูปเล่มรายงานได้ถูกต้องตามกระบวนการและหลักการได้อย่างถูกต้อง
5.2.1 บรรยายวิธีการทำวิทยานิพนธ์ ยกตัวอย่าง และสาธิตการใช้สื่อที่เหมาะสมในการทำงานโครงการวิทยานิพนธ์
5.2.2 บรรยาย ยกตัวอย่าง และสาธิต พร้อมมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล ค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ตและนำมาวิเคราะห์โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดทำรูปเล่มรายงานได้อย่างถูกต้อง
5.3.1 ประเมินการอภิปรายและวิธีการอภิปรายในชั้นเรียน และสื่อที่เหมาะสมใช้ในการนำเสนองานกับอาจารย์ที่ปรึกษา
5.3.2 ประเมินจากผลงานและการวิเคราะห์ข้อมูลตามที่ได้รับมอบหมายและการนำเสนองานต่อคณะกรรมการวิทยานิพนธ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 3 1 2
1 42021507 เตรียมวิทยานิพนธ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมโดยการปลูกฝัง จิตสำนึก นิสัยที่ดีในการทำวิทยานิพนธ์ 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น และอ้างอิง แหล่งที่มาของข้อมูลในการเขียนรายงาน 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม 1.3.1 ประเมินจากการแสดงค-ตลอดภาคการศึกษา -เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 3,5,8,15,17 ามคิดเห็นต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้สอน 1.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลงานการออกแบบที่แสดงถึงจรรยาบรรณของนักศึกษา การเขียนรายงานมีการอ้างอิงที่มาและบรรณานุกรมในรายงาน 1.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การนำเสนอผลงานและความก้าวหน้าที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ -ตลอดภาคการศึกษา -เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 3,5,8,15,17 10
2 3.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาทางการออกแบบเพื่อควบคุมกระบวนการทำวิทยานิพนธ์ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อมา ประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลงานทางสถาปัตยกรรมภายใน และการทำรายงาน 2.3.1 ประเมินการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ การแสดงความคิดเห็นและความก้าวหน้าของข้อมูลเนื้อหาวิทยานิพนธ์กับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และกรรมการวิทยานิพนธ์ 2.3.2 วัดผล การจัดทำรูปเล่มรายงานและตรวจเนื้อหาที่ทำการค้นคว้ากับอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ที่ปรึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด 2.3.3 วัดผลงานจากการสอบกลางภาค และปลายภาค และผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้จากกรรมการวิทยานิพนธ์ -ตลอดภาคการศึกษา -สอบกลางภาคและสอบปลายภาค ในสัปดาห์ที่ 9, 18 30
3 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพโดยบูรณาการความรู้จากการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเพื่อการปฏิบัติผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบโดยการผนวกทักษะความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ การเขียนแบบ การออกแบบ แนวความคิด นำมาสังเคราะห์วางแผนการจัดทำรายงานวิทยานิพนธ์ 3.3.1 ประเมินผลจากการพัฒนาโครงการร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และอาจารย์ผู้สอน และการสอบการนำเสนอย่อย 3.3.2 วัดผลจากงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ตรงต่อเวลา และการสอบนำเสนอผลงานการออกแบบวิทยานิพนธ์ -ตลอดภาคการศึกษา -เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 6, 10,16 30
4 4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีโดยสามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม โดยมีภาวะการเป็นผู้นำหรือผู้ตามที่ดีที่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4.3.1 ประเมินผลงานการทำงานร่วมกันในชั้นเรียน และการรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนร่วมชั้นและอาจารย์ผู้สอน 4.3.2 ประเมินจากการอภิปรายหน้าชั้นเรียน การประเมินตนเองและเพื่อนในการ ปฏิบัติงาน -เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 2,4,8,17 10
5 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมโดยสามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมโดยทำผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและจัดทำรูปเล่มรายงานได้ถูกต้องตามกระบวนการและหลักการได้อย่างถูกต้อง 5.3.1 ประเมินการอภิปรายและวิธีการอภิปรายในชั้นเรียน และสื่อที่เหมาะสมใช้ในการนำเสนองานกับอาจารย์ที่ปรึกษา 5.3.2 ประเมินจากผลงานและการวิเคราะห์ข้อมูลตามที่ได้รับมอบหมายและการนำเสนองานต่อคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ -เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 6,10,14,15,16,17 20
1. การทำรายละเอียดประกอบโครงการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
2. Problem Seeking
วิทยานิพนธ์ด้านสถาปัตยกรรมภายในของนักศึกษารุ่นที่ผ่านมา
Thesis & Dissertation Writing by Rivera, Maximiano.M.Jr..
Writing a Thesis Proposal First Edition by C. Arboleda
Research Methods and Thesis Writing' 2007 Ed. By Calmorin, Et Al
ค้นคว้าข้อมูลจาก Google เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น คำอธิบายศัพท์
ระเบียบวิธีวิจัย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   อาจารย์ผู้สอนจัดทำเอกสารค้นคว้าคู่มือ หนังสือตำรา หรือวิจัย เพื่อให้มีประสิทธิภาพของวิชาสูงขึ้น
5.3   รวมรวมผลงานนักศึกษาย้อนหลัง 5 ปี เพื่อประเมินผลงานของนักศึกษานำมาปรับปรุงการเรียนการสอน