ออกแบบตกแต่ง 2

Decoration Design 2

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี สำหรับการออกแบบตกแต่งภายในอาคารพาณิชยกรรมและอาคารสาธารณะ แนวคิดและกระบวนการออกแบบตกแต่ง,กฎหมายและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้อง โครงสร้างอาคาร การจัดพื้นที่ใช้สอยการจัดวางเครื่องเรือนและระบบที่เกี่ยวข้อง การเลือกใช้สีและวัสดุตกแต่ง
เพื่อปรับปรุง มูลบางส่วนเป็นปัจจุบัน ให้ทันยุค ทันสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีสำหรับการออกแบบตกแต่งภายในอาคารพานิชยกรรมและอาคารสาธารณะ แนวคิดและกระบวนการการออกแบบ กฎหมายและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้อง โครงสร้างอาคาร   การ การจัดวางเครื่องเรือนและงานระบบที่เกี่ยวข้อง  การเลือกใช้สีและวัสดุตกแต่ง
-    อาจารย์ที่ปรึกษา ติดประกาศเวลาให้คำปรึกษา ณ.ห้องพักอาจารย์ หรือเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ เคารพในสิทธิของข้อมูลจากแหล่งที่ข้อมูล โดยอ้างอิงถึงผู้เขียน หรือ ภาพถ่ายที่นำมารายงาน
1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและ   สิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1     บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกจิตสำนึกสาธารณะ  ตระหนักในคุณค่าคุณธรรม   และ จริยธรรม
1.2.2     บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพเกี่ยวกับประเด็นทาง
1.2.3     มอบหมายรายงาน,งานเดี่ยว,งานกลุ่ม ฝึกการมีวินัย ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.4     บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา กำหนดให้นักศึกษาหานำเสนอเอกสารอ้างอิง แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมารายงานจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สืบค้น  และ การนำ ข้อมูลมาเผยแพร่ การอ้างอิงถึงที่มา
1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2     ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3      ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4      ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีสำหรับการออกแบบตกแต่งภายในอาคารพานิชยกรรมและอาคารสาธารณะ แนวความคิดและกระบวนการการออกแบบภายใน การจัดพื้นที่ใช้สอยสำหรับอาคาร พานิชยกรรมและอาคารสาธารณะ การจัดวางเครื่องเรือนโครงสร้างอาคารและงานระบบที่เกี่ยวข้อง  การเลือกใช้สี และ วัสดุ
         2.1.1     มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
         2.1.2     สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
         2.1.3     สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงาน และ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเขียนแบบและ การออกแบบตกแต่งภายในอาคารพานิชยกรรมและอาคารสาธารณะ
2.3.1     สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่ความเข้าใจกระบวนการออกแบบตกแต่ง
2.3.2     ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กิจกรรมถาม-ตอบ ในชั้นเรียน
2.3.3     ประเมินจากการงานในชั่วโมงที่ให้ฝึกปฏิบัติ ขั้นตอนกระบวนการคิดและแก้ไขปัญหา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ
3.1.1     มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2     มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   มีการมอบงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และให้นำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อประกอบ แนวคิดในการออกแบบงานในแต่ละสัปดาห์
3.2.2   มอบหมายงานเดี่ยวในชั่วโมง ฝึกปฏิบัติด้านการเขียนแบบเพื่อนำเสนอผลงานทางการออกแบบตกแต่งภายในอาคารและ ศึกษาข้อมูลวิเคราะห์วางแผนกระบวนการคิดและแก้ไขปัญหาเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบตกแต่งภายในอาคารพานิชยกรรมและอาคารสาธารณะนำเสนอผลงาน
3.3.1    ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์ และประเมินผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 
3.3.2     วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ ความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบ
4.1.1    มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคม
4.1.2     มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3     สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4     สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1    มอบหมายงานกลุ่ม ให้ทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อศึกษาข้อมูลวิเคราะห์วางแผนร่วมกันเป็นทีม
4.2.2     กำหนดให้มีการเก็บข้อมูลต้องประสาน ระหว่างบุคคล
4.2.3     กำหนดประเด็นปัญหา ให้นำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.3.1     ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานทีม
4.3.2     ประเมินจากผลงานที่มอบหมายให้  
4.3.3     ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
5.1.1     สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2      สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3      สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง งานที่มอบหมายให้ โดยเน้นความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบให้หาจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2      นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1      ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2       ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1.      สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
6.1.2.      สารารถสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
6.1.3.       สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้าน   ประโยชน์ใช้สอย
มอบงานทุกสัปดาห์ให้นักศึกษาฝึกทักษะด้านเขียนแบบและออกแบบโดยใช้เครื่องมือเขียนงานสองมิติ อาทิเช่น แบบทางสถาปัตยกรรม แปลน,รูปด้าน,แบบขยาย, โครงสร้างอาคาร แบบไฟฟ้า, แบบสุขาภิบาล, ทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอยภายในที่พักอาศัย
6.3.1       ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์
6.3.2       สอบกลางภาคและปลายภาค 
6.3.3       วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ความถูกต้องของข้อมูล
              ภาพประกอบ สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมถาม - ตอบ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน   
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 43022349 ออกแบบตกแต่ง 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ เคารพในสิทธิของข้อมูลจากแหล่งที่ข้อมูล โดยอ้างอิงถึงผู้เขียน หรือ ภาพถ่ายที่นำมารายงาน 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและ สิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 1.3.3 ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20
2 ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีสำหรับการออกแบบตกแต่งภายในอาคารพานิชยกรรมและอาคารสาธารณะ แนวความคิดและกระบวนการการออกแบบภายใน การจัดพื้นที่ใช้สอยสำหรับอาคาร พานิชยกรรมและอาคารสาธารณะ การจัดวางเครื่องเรือนโครงสร้างอาคารและงานระบบที่เกี่ยวข้อง การเลือกใช้สี และ วัสดุ 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่ความเข้าใจกระบวนการออกแบบตกแต่ง 2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กิจกรรมถาม-ตอบ ในชั้นเรียน 2.3.3 ประเมินจากการงานในชั่วโมงที่ให้ฝึกปฏิบัติ ขั้นตอนกระบวนการคิดและแก้ไขปัญหา ตลอดภาคการศึกษา 20
3 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1 ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์ และประเมินผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 3.3.2 วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ ความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบ ตลอดภาคการศึกษา 20
4 4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคม 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานทีม 4.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมายให้ 4.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 14,15,16,17 15
5 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 17 10
6 6.1.1 สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ 6.1.2. สารารถสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 6.1.3. สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้าน ประโยชน์ใช้สอย 6.3.1 ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์ 6.3.2 สอบกลางภาคและปลายภาค 6.3.3 วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบ สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมถาม - ตอบ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 9,17,18 15
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาออกแบบตกแต่ง 2
กิติ สินธุเสกฬ.การออกแบบภายในขั้นพื้นฐาน : หลักการพิจารณาเบื้องต้น : กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553. ภัทราวดี ศิริวรรณ.ความรู้พื้นฐานงานออกแบบตกแต่งภายใน  : กรุงทพฯ.สกายบุ๊กส์, 2553 วัฒนะ จูฑะวิภาต.ศิลปะการออกแบบตกแต่งภายใน:กรุงเทพฯ .วิทยพัฒน์, 2553 ศรายุทธ ศรีทิพย์อาสน์.Interior design details :  กรุงเทพฯ.บ้านและสวน, 2555
http://www.coe.or.th http://www.dpt.go.th https://bit.ly/2qFcSzp http://oldsite.asa.or.th/th/node/98701 http://www.ieat.go.th/assets/uploads/cms/file/201703141555431875858139.pdf
การสอบย่อย
-   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
-   ผลการเรียนของนักศึกษา
-   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-   การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
-   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
-  ทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
-   ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้และการให้คะแนนของนักศึกษา
-  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
-   สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย