เทคโนโลยีงานประดิษฐ์

Art and Craft Technology

เพื่อให้นักศึกษารู้ระบบการผลิต  หลักการวิเคราะห์แผนภูมิกระบวนการผลิต หลักการตรวจสอบ และการควบคุมงานประดิษฐ์โดยการสุ่มตัวอย่าง
    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในเรื่องระบบการผลิต หลักการวิเคราะห์แผนภูมิกระบวนการผลิต หลักการตรวจสอบ และการควบคุมคุณภาพงานประดิษฐ์ เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานและสามารถเป็นผู้ประกอบการได้
ระบบการผลิต  หลักการวิเคราะห์  แผนภูมิกระบวนการผลิต หลักการตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพงานประดิษฐ์โดยการสุ่มตัวอย่าง
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  แนะนำเกี่ยวกับเวลาให้คำปรึกษาทางวิชาการในชั้นเรียน
 -    อาจารย์ประจำวิชา ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจิตสำนึก สาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

                            4.เคารพสิทธิและคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางด้าน จริยธรรม คุณธรรม และการสร้างจิตสำนึกที่ดีเกี่ยวกับงานด้านเทคโนโลยีงานประดิษฐ์
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   การเข้าชั้นเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายให้ทำและตรงต่อเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1   มีความรู้ และความเข้าใจทั้งทางด้านภาคทฤษฎี และหลักการปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา
2.1.3   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาเข้ากับศาสตร์อื่น ๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  อภิปราย สาธิต การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานให้ค้นคว้า ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปนำเสนอและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินผลจากงานนำเสนอการค้นคว้าข้อมูลจากกรณีศึกษา โดยเน้นการการวัด การทำงานกลุ่ม การมีส่วนร่วม และผลงานที่สำเร็จ
2.3.3 ทดสอบภาคปฏิบัติ
          3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
          3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิด และใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานโดยเน้นความรู้ทางด้านวิชาชีพมาประยุกต์ใช้ ให้วิเคราะห์แก้ไขปัญหาและ นำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1   วัดผลจากการประเมินโครงงาน การนำเสนอผลงาน
3.3.2   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.3   มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาททางสังคมที่ดี
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมเป็นกลุ่มในการทำงานในภาคปฏิบัติ
4.2.2   มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และผู้ร่วมงาน
4.3.2  ประเมินจากกิจกรรมที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากการนำเสนอผลงาน    
 
5.1.1   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.2   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการประดิษฐ์ชิ้นงาน
5.2.2  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
5.3.2   ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิคราะห์ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 24051308 เทคโนโลยีงานประดิษฐ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.3 1.1-2.4 3.1-3.2 3.1-5.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทอสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 3 8 11 17 5% 20% 5% 20%
2 ฝึกปฏิบัติการทำงาน การส่งงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย และผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 บทที่ 1-5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม ในกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
เกษม  พัฒน์ปัญญานกูล การควบคุมคุณภาพประกอบเมไตร  กรุงเทพมหานคร
ปราณี  ตันปประยูร  การบริหารการผลิต  โอเดียนสโตร์  กรุงเทพมหานคร
สมคิด  บางโพ หลักการจัดการ  พิมพ์ดีจำกัด  กรุงเทพมหานคร
สุรศักดิ์  อมรรัตน์ศักดิ์  อำพล  ซื้อตรง  การควบคุมคุณภาพ  ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ กรุงเทพมหานคร
สุโขทัยธรรมมาธิราช มหาวิทยาลัย  เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการตลาดและการผลิต 
หน่วยที่ 1-8 กรุงเทพมหานคร
ยุทธพงษ์  ไกยวรรณ์  การบริหารและระบบการผลิตในงานอุตสาหกรรม  พิมพ์ดีจำกัด  กรุงเทพมหานคร
-
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องหรือรายการทีวีที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีประดิษฐ์ชิ้นงาน
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2   การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.2   การจัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่
3.3   เชิญบุคลากรในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
5.2  เชิญบุคลากรในชุมชนมามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองที่กว้างและรู้จัก ประยุกต์ ความรู้ที่ได้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด