การจัดการสถานเพาะชำเพื่องานภูมิทัศน์

Nursery Management for Landscape

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความหมายและความสำคัญของสถานเพาะชำ ประเภทของสถานเพาะชำ โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในสถานเพาะชำ การวางผังและการจัดสถานเพาะชำ การผลิตและการบำรุงรักษาพันธุ์ไม้ในสถานเพาะชำธุรกิจสถานเพาะชำ
:  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน  ด้าน ความหมายและความสำคัญของสถานเพาะชำ ประเภทของสถานเพาะชำ โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในสถานเพาะชำ การวางผังและการจัดสถานเพาะชำ การผลิตและการบำรุงรักษาพันธุ์ไม้ในสถานเพาะชำธุรกิจสถานเพาะชำ
           ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ  ความหมายและความสำคัญของสถานเพาะชำ ประเภทของสถานเพาะชำ โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในสถานเพาะชำ การวางผังและการจัดสถานเพาะชำ การผลิตและการบำรุงรักษาพันธุ์ไม้ในสถานเพาะชำธุรกิจสถานเพาะชำ
Study and practice on The meaning and importance of the nursery. Type nursery Materials used in greenhouses and nurseries. Planning and organizing nursery. Production and maintenance of plants in the nursery nursery business.
1
     1. 1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาต้องมีอุณธรรมจริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ราบรื่นและประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมอาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชาต้องให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆดังนี้
            1.1. 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณคำของคุณธรรมจริยธรรม
            1. 1. 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
             1. 1. 3 มีวินัยขยันอดทนตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและอย่างราบรื่นและสิ่งแวดล้อม
             1.1. 4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยาย โดยกำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯนอกจากนี้ผู้สอนต้องสอดแทรถและส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรมในทุกรายวิชาและส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะสนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคมปลูกฝังจิตสำนึกแมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
ประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งระหว่างกำลังศึกษา และภายหลังสำเร็จการศึกษา ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การใช้แบบสอบถาม แบบประเมิน และแบบวัดผล โดยประเมินในด้านต่างๆ ดังนี้

 ประเมินจากการมีวินัยในการเรียน การตรงเวลาในการเข้าชั้นเรียน การทำงานเสร็จและส่งงานตามกำหนด  ประเมินจากความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย  ประเมินจากความซื่อสัตย์ และจรรยาบรรณในการสอบ

1. 1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาต้องมีอุณธรรมจริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ราบรื่นและประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมอาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชาต้องให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆดังนี้ 1. 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณคำของคุณธรรมจริยธรรม 1. 1. 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1. 1. 3 มีวินัยขยันอดทนตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและอย่างราบรื่นและสิ่งแวดล้อม 1. 4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์นอกจากนั้นยังมีรายวิชาส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษามีการพัฒนาจริยธรรมและเจรรยาวิชาชีพเช่นวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพจึงอาจารย์ผู้สอนสามารถสอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาวิชาชีพและสามารถจัดให้มีการวัดผลแบบมาตรฐานในด้านคุณธรรมจริยธรรมทุกภาคการศึกษาด้วยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำกิจกรรมและมีการกำหนดคะแนนในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนจิตพิสัยในชั้นเรียนนักศึกษาที่คะแนนความประพฤติไม่ผ่านเกณฑ์อาจต้องทำกิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มก่อนจบการศึกษา 12 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมกำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯนอกจากนี้ผู้สอนต้องสอดแทรถและส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรมในทุกรายวิชาและส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะสนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคมปลูกฝังจิตสำนึกแมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยาย โดยจัดการเรียนรู้ะมุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจศาสตร์และผสมผสานให้นำไปสู่วิธีการดำเนินการที่เป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน  โดยการจัดการการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง การเรียนรู้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรียนรู้จากสถานการณ์จริง มีการเรียน รู้ทั้งในชั้นเรียน ห้องปฏิบัติการ   และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม รวมถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพึ่งตนเองได้ มีอิสระในการแสวงหาความรู้โดยไม่ยึดติดกับการรับข้อมูลจากผู้สอนเพียงวิธีเดียว เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้เกิดการคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจด้วยตนเอง เช่นให้มีการนำเสนองาน การร่วมแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาคิดเป็นและมีนิสัยใฝ่รู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ให้ครอบคลุมในทุกด้าน ทั้งโดยการทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค ผลสำเร็จของการปฏิบัติงาน การนำเสนอผลงาน การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
บรรยายโดยใช้หลักและวิธีการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปัญหา มีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการปฏิบัติงานจริง สามารถคิดและวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์ทางด้านต่างๆ กับสถานการณ์จริง  เปิดโอกาสให้ได้แสดงความคิดเห็น รวมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษามีความพร้อมในการปรับตัวได้ และสามารถแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตได้เป็นอย่างดี
ประเมินจากการแสดงออกของนักศึกษาทางการกระบวนการคิดและการแก้ไขปัญหา ผลการปฏิบัติงาน ความสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนรู้ การนำเสนอผลงาน การอธิบาย การตอบคำถาม การโต้ตอบสื่อสารกับผู้อื่น
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
เน้นการเรียนการสอนที่มีการปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียนและผู้สอน การเรียนรู้และการปฏิบัติงานเป็นทีม การแสดงออกถึงภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี การมี มนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงาน การวางตัวที่เหมาะสมต่อกาลเทศะ การทำกิจกรรมเพื่อสังคม การประสานงานกับผู้อื่นทั้งภายในและภายนอกสถาบัน การศึกษา และความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในหลายๆ ด้าน ระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น พฤติกรรมความสนใจ ตั้งใจเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง การแสดงบทบาทภาวะผู้นำและผู้ตามที่ดี ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ความรับผิดชอบในการเรียนและงานที่ได้รับมอบหมาย และการร่วมทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อสังคม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะทั้งด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการค้นคว้าและนำเสนองานทางวิชาการ และมีกิจกรรมการเรียนการสอนอื่นๆ ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะต่างๆ เหล่านี้ ทั้งด้วยตนเองและร่วมกับผู้อื่น การอภิปราย และการวิเคราะห์ปัญหาจริงในการเรียนรู้
ประเมินผลตามกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนองานโดยใช้แบบประเมินทักษะในด้านต่างๆ เหล่านี้ การทดสอบความรู้และเทคนิคการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในสถานการณ์จำลองเสมือนจริง  ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนการเขียนรายงาน และการนำเสนอผลงาน
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ใช้ตัวอย่างหรือกรณีศึกษาให้นักศึกษาฝึกทักษะด้านการปฏิบัติ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะต่างๆ เหล่านี้ ทั้งด้วยตนเองและร่วมกับผู้อื่น การอภิปราย และการวิเคราะห์ปัญหาจริงในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหา การปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ และสถานที่จริง
ประเมินผลตามกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนองานโดยใช้แบบประเมินทักษะในด้านต่างๆ เหล่านี้ การทดสอบความรู้และเทคนิคการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในสถานการณ์จำลองตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนการเขียนรายงาน และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1
1 21042210 การจัดการสถานเพาะชำเพื่องานภูมิทัศน์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเ้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ความมชื้อสัตย์ในการสอบ 1-17 10
2 ความรู้ สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 1-17 60
3 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การนำเสนองาน/การรายงาน/การปฏิบัติงาน 1-17 30
อิศร์ สุปินราช  2558 เอกสารประกอบการอสอนวิชาการจัดการสถานเพาะเพื่องานภูมิทัศน์  สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลำปาง
ทองพูล วรรณโพธิ์  2552  คู่มือการขยายพันธุ์พืช  นาคา อินเตอร์มีเดีย, บจก. กรุงเทพมหานคร
เทคนิคขยายพันธุ์พืช จากสำนักพิมพ์บ้านและสวน  อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง  กรุงเทพมหานคร

 
เอกสาร ตำราเกี่ยวกับรูปแบบโรงเรือน สมัยใหม่  เช่นโรงเรือน ตาข่าย โรงเรือนพลาสติก โรงเรือนแบบควบคุมสภาพแวดล้อมอตโนมัติ
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย ฯลฯ
 มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรจากการ   สัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา ดูผลการเรียนของนักศึกษา
 
1) หลักสูตรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์ วิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา และผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา และให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาตามแบบ มคอ. 2) มีการประชุมอาจารย์ผู้สอนของหลักสูตรเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางการแก้ไข
หลักสูตร/ภาควิชา/คณะกำหนดให้มีคณะกรรมการประเมินข้อสอบ และความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา 60 % ของรายวิชาทั้งหมดในหลักสูตรหรือภาควิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน ทั้งทางด้านเนี้อหาที่สอน กลยุทธ์ การสอน แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชา เพื่อเสนอต่อหัวหน้าภาคและคณะกรรมการพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปเพื่อวางแผนปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป