การขึ้นรูปด้วยมือ 1

Hand Building 1

ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสำคัญของการขึ้นรูปด้วยมือ เนื้อดินปั้นและการเตรียมดินสำหรับการขึ้นรูปด้วยมือ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการขึ้นรูปด้วยมือ การขึ้นรูปด้วยมือวิธีการต่างๆ การตกแต่งผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยมือ ปัญหาและแนวทางป้องกันและแก้ไขผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยมือ
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะพื้นฐาน การขึ้นรูปด้วยมือเบื้องต้น เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน การออกแบบเซรามิก เครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน และการสร้างต้นแบบ
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสำคัญของการขึ้นรูปด้วยมือ เนื้อดินปั้นและการเตรียมดินสำหรับการขึ้นรูปด้วยมือ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการขึ้นรูปด้วยมือ การขึ้นรูปด้วยมือวิธีการต่างๆ การตกแต่งผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยมือ ปัญหาและแนวทางป้องกันและแก้ไขผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยมือ
 
2  ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ หรือตามที่นักศึกษาแจ้งความประสงค์
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทางหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
               2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
               2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สาธิต ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดทักษะการขึ้นรูป
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน
2.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.1.2   มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
5.1.3   มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
5.2.1   มอบหมายงานงานตามแบบและใบงาน
5.2.2   มอบหมายให้สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงาน
  ประเมินตามสภาพจริงของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2
1 BTECE109 การขึ้นรูปด้วยมือ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย สอบกลางภาค สอบปลายภาค การปฏิบัติงานและผลงาน จิตพิสัย สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคเรียน จิตพิสัย ตลอดภาคเรียน สอบกลางภาค 10 % สอบปลายภาค 10 % การปฏิบัติงานและผลงาน 70 % จิตพิสัย 10 %
1. เฉลียว  ปิยะชน. (2544). มรดกเครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพฯ :เมืองโบราณ.
2. ทรงพันธ์  วรรณมาศ. (2532). เครื่องปั้นดินเผา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
3. ปรีดา  พิมพ์ขาวขำ.(2541).  เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
4.ไพจิตร  อิ่งศิริวัฒน์. (2541).เนื้อดินเซรามิก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
5. สุขุมาล  เล็กสวัสดิ์. (2548). เครื่องปั้นดินเผา พื้นฐานการออกแบบและปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
6.Artes Y Oficios. (1994). Pottery : A Step By Step Guide To The Craft of Pottery. London : Merehurst Books
7.Bismarck, Beatrice von. (1993). Impressionist art vol.II. Germany : Ingo F. Walther
8.Brick, Tony.(1996). The Complete Potter’s Companion. Hongkong :  Conran Octopus.
9.Chappell, James. (1991). The Potter’s Complete Book of Clay and Glaze. (rev. edit). Newyork: Watson-Guptill Publications
10.Espi, Lorette. (1993). Step-By-Step and Ceramics : A Creative.Newyork : Crescent Books
11. Sentence, Bryan.(2004). Ceramics : A Word Guide To Traditional Techniqes. London : Thames & Hudson.
12.Susan Peterson.(1992). “The Complete Pottery Course “ London : Ebury Press.
ไม่มี
www.facebook.com/ page: love pottery
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์