การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาอังกฤษและภาษาไทย
Contrastive Analysis of English and Thai
เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา และมีทักษะในการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาอังกฤษและภาษาไทย เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับบริบททางสังคม
2.1 นำผลการประเมินรายวิชาจากครั้งก่อน (ภาค1/260) มาปรับปรุงในด้านการประเมิน ดังนี้
ผลประเมินด้านการประเมิน
มีการประเมินผลงานนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ แจ้งผลสอบให้ทราบและได้ชี้แจงปรับปรุง
ปรับปรุงโดยชี้แจงเกณฑ์ในการประเมินผลงาน และกำหนดการแจ้งผลการทดสอบย่อย งานมอบหมาย พร้อมทั้งแนวทางปรับปรุงผลงานให้นักศึกษาทราบอย่างสม่ำเสมอ
2.2 บูรณาการกับผลการวิจัยเรื่อง “ประสิทธิผลของรูปแบบการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานด้วยหลักการ 3 ระยะต่อเนื่อง” เพื่อให้นักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีศักยภาพในการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ การพัฒนาตนเองและการทำงาน
ผลประเมินด้านการประเมิน
มีการประเมินผลงานนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ แจ้งผลสอบให้ทราบและได้ชี้แจงปรับปรุง
ปรับปรุงโดยชี้แจงเกณฑ์ในการประเมินผลงาน และกำหนดการแจ้งผลการทดสอบย่อย งานมอบหมาย พร้อมทั้งแนวทางปรับปรุงผลงานให้นักศึกษาทราบอย่างสม่ำเสมอ
2.2 บูรณาการกับผลการวิจัยเรื่อง “ประสิทธิผลของรูปแบบการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานด้วยหลักการ 3 ระยะต่อเนื่อง” เพื่อให้นักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีศักยภาพในการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ การพัฒนาตนเองและการทำงาน
การวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างด้านระบบเสียง คำ โครงสร้าง และความหมาย ระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาไทย นำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนและการสื่อสาร
- จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- สร้างกลุ่มในสื่อสังคมออนไลน์เพื่อเป็นช่องทางติดต่อกับนักศึกษา
- สร้างกลุ่มในสื่อสังคมออนไลน์เพื่อเป็นช่องทางติดต่อกับนักศึกษา
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน ตรงต่อเวลา อดทน ซื่อสัตย์ และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 สร้างความมีวินัย ความขยัน และความตรงต่อเวลา โดยกำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาและสม่ำเสมอ รวมถึงการส่งงานตรงตามกำหนดเวลา
1.2.2 ส่งเสริมความอดทน และความซื่อสัตย์ โดยกำหนดให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.3 เสริมสร้างความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อมให้กับนักศึกษาโดยการให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหาวิชาก่อนเรียน เพื่อมาทดสอบและทำความเข้าใจเพิ่มเติมในชั้นเรียน
1.2.2 ส่งเสริมความอดทน และความซื่อสัตย์ โดยกำหนดให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.3 เสริมสร้างความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อมให้กับนักศึกษาโดยการให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหาวิชาก่อนเรียน เพื่อมาทดสอบและทำความเข้าใจเพิ่มเติมในชั้นเรียน
1.3.1 ความมีวินัยและความขยัน วัดจากความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน ความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานมอบหมายตรงเวลาที่กำหนด
1.3.2 ความอดทนซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบต่อตนเอง วัดจากการทดสอบและการทำงานมอบหมายในแต่ละบทเรียน
1.3.2 ความอดทนซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบต่อตนเอง วัดจากการทดสอบและการทำงานมอบหมายในแต่ละบทเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาของรายวิชา
2.1.1 ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชา เน้นความรู้ความเข้าใจในหลักการวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษา ความแตกต่างระหว่างระบบต่าง ๆ ของภาษาอังกฤษและภาษาไทย
2.1.2 ด้านการนำความรู้ทางการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา ไปบูรณาการกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การแปล และการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศให้กับผู้เรียนชาวไทย
2.1.1 ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชา เน้นความรู้ความเข้าใจในหลักการวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษา ความแตกต่างระหว่างระบบต่าง ๆ ของภาษาอังกฤษและภาษาไทย
2.1.2 ด้านการนำความรู้ทางการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา ไปบูรณาการกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การแปล และการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศให้กับผู้เรียนชาวไทย
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
2.2.1 ให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหาที่จะเรียนในแต่ละบทเรียนมาล่วงหน้า แล้วมาทดสอบย่อยในชั้นเรียน โดยผู้สอนอธิบายประเด็นสำคัญต่าง ๆ ในบทเรียนภายหลังการทดสอบ เพื่อทบทวนความเข้าใจ
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ตามหัวข้อที่กำหนด และนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากบทความวิชาการ บทความวิจัย และตัวอย่างต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา
2.2.1 ให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหาที่จะเรียนในแต่ละบทเรียนมาล่วงหน้า แล้วมาทดสอบย่อยในชั้นเรียน โดยผู้สอนอธิบายประเด็นสำคัญต่าง ๆ ในบทเรียนภายหลังการทดสอบ เพื่อทบทวนความเข้าใจ
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ตามหัวข้อที่กำหนด และนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากบทความวิชาการ บทความวิจัย และตัวอย่างต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา
2.3.1 ความรู้ด้านทฤษฎี วัดจากผลการทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2 ความรู้ด้านการปฏิบัติ วัดจากผลงานมอบหมาย การค้นคว้า และการนำเสนอในชั้นเรียน
2.3.3 การนำความรู้ทางการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา ไปบูรณาการกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดูจากผลงานการวิเคราะห์เปรียบเทียบในส่วนของการอภิปรายผล
2.3.2 ความรู้ด้านการปฏิบัติ วัดจากผลงานมอบหมาย การค้นคว้า และการนำเสนอในชั้นเรียน
2.3.3 การนำความรู้ทางการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา ไปบูรณาการกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดูจากผลงานการวิเคราะห์เปรียบเทียบในส่วนของการอภิปรายผล
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้าน
3.1.1 การประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาอังกฤษและภาษาไทย
3.1.2 การนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และบริบท
3.1.1 การประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาอังกฤษและภาษาไทย
3.1.2 การนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และบริบท
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์และเปรียบเทียบองค์ประกอบต่าง ๆ ของภาษาอังกฤษและภาษาไทย ทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อย
3.2.2 ให้นักศึกษาฝึกทักษะในการสรุปความคิดรวบยอด และการนำความรู้มาถ่ายทอด
3.2.2 ให้นักศึกษาฝึกทักษะในการสรุปความคิดรวบยอด และการนำความรู้มาถ่ายทอด
3.3.1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบองค์ประกอบต่าง ๆ ของภาษา ทั้งรายงานและการนำเสนอ
3.3.2 การถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบอินโฟกราฟิกส์ (Infographics)
3.3.2 การถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบอินโฟกราฟิกส์ (Infographics)
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ทั้งต่ออาจารย์ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียน
4.1.2 ความสามารถในการทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ทั้งต่ออาจารย์ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียน
4.1.2 ความสามารถในการทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และช่วยกันระดมสมองในการฝึกวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา การเป็นผู้ฟังที่ดี
4.3.1 ประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.2 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
4.3.2 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการแปลอย่างเหมาะสม และสามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบท
ให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการค้นหาข้อมูลต่างๆ โดยบูรณาการกับผลการวิจัยเรื่อง “ประสิทธิผลของรูปแบบการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานด้วยหลักการ 3 ระยะต่อเนื่อง”
ประเมินจากผลงานและการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรมจริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | 13031019 | การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาอังกฤษและภาษาไทย |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.3 | การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานมอบหมายตรงเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | 2.1,2.3 | การทดสอบกลางภาค | 8 | 15% |
3 | 2.1,2.3 | การสอบปลายภาค | 17 | 15% |
4 | 2.1,2.3 | แบบฝึกหัดใน-นอกชั้นเรียน | 1-7, 9-15 | 15% |
5 | 3.1,3.3,4.1,4.3 | งานมอบหมาย (ค้นคว้า-นำเสนอ) | 3-7, 9-15 | 45% |
เอกสารประกอบการสอนวิชาการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาอังกฤษและภาษาไทย
กำชัย ทองหล่อ. 2554. หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 53. กรุงเทพฯ: บริษัทรวมสาส์น (1997) จำกัด.
คณาจารย์. 2553. ภาษาศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เทียนมณี บุญจุน. 2548. สัทศาสตร์: ระบบเสียงในภาษาอังกฤษและภาษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
นววรรณ พันธุเมธา. 2554. ไวยากรณ์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิณทิพย์ ทวยเจริญ. 2550. ไวยากรณ์อังกฤษแนวสร้างเสริมความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มธ.
เลิศ เกษรคำ. 2551. ไวยากรณ์และเทคนิคภาษาอังกฤษฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
วิทยา นาทอง. 2538. การเปรียบเทียบภาษาอังกฤษกับภาษาไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Crystal, D. 2004. Discover Grammar. 9th ed. London: Longman.
Gramly, S. 2002. A Survey of Modern English. 2nd ed. New York: Routledge.
Greenbaum, S. and Nelson, G. 2002. An Introduction to English Grammar. 2nd Edition. London: Pearson Education, Inc.
Higbie, J. and Thinson, S. 2003. Thai Reference Grammar: the Structure of Spoken Thai. Bangkok: Orchid Press.
Iwasaki, S. and Ingkaphirom, P. 2005. A Reference Grammar of Thai. UK: CUP.
James, C. 1980. Contrastive Analysis. London: Longman.
Kuiper, K. and Allan, W. S. 2004. An Introduction to English Language: Word, Sound and Sentence. 2nd ed. New York: Palgrave.
McArthur, T. 2005. Concise Companion to the English Language. London: OUP.
16. เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาศาสตร์
16. เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาศาสตร์
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา รวมถึงข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เกณฑ์การวัดผลและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล และการทวนสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของรายวิชา
3.1 นำผลประเมินการสอนที่ได้จากภาคเรียนที่ 2/2560 มาปรับปรุงในด้านการการวัดผลและประเมินผลสัมฤทธิ์ของรายวิชา ให้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา พร้อมทั้งแจ้งให้นศ.ทราบล่วงหน้า
3.2 จัดทำสื่อการสอน เพิ่มเติมตัวอย่าง และบูรณาการกับกระบวนการวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผลของรูปแบบการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานตามหลักการ 3 ระยะ โดยสร้างพื้นที่แบบ cloud-based ให้นักศึกษาเข้าไปทบทวนเนื้อหาได้ตามต้องการ ในเวลาที่สะดวกต่อนักศึกษา
3.2 จัดทำสื่อการสอน เพิ่มเติมตัวอย่าง และบูรณาการกับกระบวนการวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผลของรูปแบบการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานตามหลักการ 3 ระยะ โดยสร้างพื้นที่แบบ cloud-based ให้นักศึกษาเข้าไปทบทวนเนื้อหาได้ตามต้องการ ในเวลาที่สะดวกต่อนักศึกษา
4.1 ก่อนเริ่มการสอน มีการตรวจสอบมคอ.3 โดยหัวหน้าหลักสูตรและหัวหน้าสาขา ว่ามีมาตรฐานผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในมคอ. 2 ของหลักสูตร
4.2 ในระหว่างการสอน มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ในรายวิชา และข้อสอบที่จะใช้สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทั้งกลางภาคและปลายภาค
4.3 หลังการสอน มีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบมคอ. 3 มคอ. 5 ข้อสอบ เกณฑ์การให้คะแนน ผลการเรียน และผลจากงานมอบหมาย
4.2 ในระหว่างการสอน มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ในรายวิชา และข้อสอบที่จะใช้สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทั้งกลางภาคและปลายภาค
4.3 หลังการสอน มีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบมคอ. 3 มคอ. 5 ข้อสอบ เกณฑ์การให้คะแนน ผลการเรียน และผลจากงานมอบหมาย
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยมีการปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 1-4