แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน

Interior Architectural Concepts

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์ ปรัชญา ขบวนการออกแบบและแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน  เพื่อนำเอาแนวความคิดไปพัฒนาสู่การออกแบบต่อไป
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์การออกแบบแนวความคิด  เพื่อนำไปสู่การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
ศึกษาความหมาย ปรัชญา และขบวนการออกแบบ  แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน  ศึกษาการนำเอาความคิดไปพัฒนาสู่กายภาพในยุคสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ จนถึงปัจจุบัน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมโดยมีจิตสำนึกที่รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพโดยไม่คัดลอกแนวความคิดของผู้อื่น
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็น และสอดแทรกความรู้และการปฏิบัติที่จะทำให้นักศึกษาจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
1.2.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา และสอดแทรกประเด็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพที่จำเป็นต้องมีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพ เช่น การไม่คัดลอกแนวคิด ผลงานการออกแบบ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา
1.3.1 ประเมินผลจากการอ้างอิงเอกสารหรือข้อมูลที่ได้นำมาทำงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.2    ประเมินผลการนำเสนองานด้านแนวความคิด ผลงานการออกแบบตามที่ได้รับ  มอบหมายโดยการไม่คัดลอกแนวความคิดของผู้อื่น
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาทักษะการคิด
          และรูปแบบการคิด การระดมสมองไปสู่ความคิดที่นำมาใช้
2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ โดยการนำเทคนิคการ
สร้างสรรค์แนวความคิดในการออกแบบมาผสมผสานเพื่อให้เกิดแนวความคิดที่หลากหลาย
2.2.1 บรรยายความรู้ด้านแนวความคิด การระดมสมอง องค์ประกอบของแนวความคิด และกระบวนการสร้างแนวความคิด พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็น การระดมสมองไปสู่ความคิดที่นำมาใช้เพื่องานออกแบบ
2.2.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับประเด็นแนวคิด การนำเสนอข้อมูล การแตกกระบวนการแนวความคิด การวิเคราะห์แนวความคิดและมอบหมายให้นักศึกษาการนำเสนอรายงาน
2.3.1 ประเมินผลจากการสอบ ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  การแตกกระบวนการแนวความคิด การวิเคราะห์แนวความคิด
3.1.1  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบในการสร้างแนวความคิดที่หลากหลายโดยการระดมสมองไปสู่แนวความคิดที่นำมาใช้
3.2.1    บรรยายพร้อมยกตัวย่าง กำหนดให้นักศึกษาระดมสมองและนำเสนอข้อมูล เกี่ยวกับแหล่งที่มาของแนวความคิด กระบวนการคิดตามองค์ประกอบ
3.3.1 ประเมินผลจากการสอบ ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี และการ  ระดมสมองไปสู่แนวความคิดในผลงานของนักศึกษา
   ไม่มี
   ไม่มี
   ไม่มี
 5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง 
เหมาะสม
5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพใน
การนำเสนองานหรือการเขียนเพื่อบรรยายแนวความคิดของตนเอง
5.2.1บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการศึกษา สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ ระดมสมอง
แนวความคิดในการออกแบบผ่านเครื่องมือและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
5.2.2 มอบหมายให้นักศึกษานำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ เทคโนโลยีตามความถนัด และการสื่อสารผ่านสื่อคอมพิวเตอร์
5.3.1 ประเมินจากผลงานการระดมสมองแนวความคิด
5.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ เทคโนโลยี และการ สื่อสารที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 3 1 3 2 2 3
1 42021308 แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1.ประเมินผลจากการอ้างอิงเอกสารหรือข้อมูลที่ได้นำมาทำงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.ประเมินผลการนำเสนองานด้านแนวความคิด ผลงานการออกแบบตามที่ได้รับ มอบหมายโดยการไม่คัดลอกแนวความคิดของผู้อื่น -เนื้อหาในสัปดาห์ 5-7, 8, 10-11 และ 12-14 10
2 ความรู้ 1.ประเมินผลจากการสอบ ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล การแตกกระบวนการแนวความคิด การวิเคราะห์แนวความคิด -เนื้อหาในสัปดาห์ 1-16 50
3 ทักษะทางปัญญา 1.ประเมินผลจากการสอบ ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี และการระดมสมองไปสู่แนวความคิดในผลงานของนักศึกษา -เนื้อหาในสัปดาห์ 5-7, 12-14 30
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ไม่มี ไม่มี 0
5 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.ประเมินจากผลงานการระดมสมองแนวความคิด 2.ประเมินผลจากการนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ เทคโนโลยี และการสื่อสารที่เหมาะสม -เนื้อหาในสัปดาห์ 5-7, 8, 10-14 15
1. มโนทัศน์สถาปัตยกรรม ( Concept in Architecture )  อ.เลอสม   สถาปิตานนท์
2. เอกพล สิระชัยนันท์. (2555). สถาปัตยกรรม: ความคิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ บางกองพริ้น บ.วี พลัส กรุ๊ป (ไทยแลนด์).
3. Basics Interior Design 01: Retail Design. Lynne Mesher : Singapore.
4. Designing Commercial Interiors. Christine M. Piotrowski, Elizabeth A. Rogers, IIDA : Canada.
5. Designing Interior Architecture: Concept, Typology, Material, Construction. Sylvia Leydecker : Germany.
6. Interior Design: Theory and Process by Anthony Sully (2012)
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น https://www.englishclub.com/vocabulary/british-american.htm
http://www.majorhospitalfoundation.org/pdfs/Effects%20of%20Interior%20Design
%20on%20Wellness.pdf
http://www.affective-science.org/pubs/2000/PietromonacoFB2000.pdf
http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/world4.htm
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ