การควบคุมคุณภาพ

Quality Control

ศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของระบบการผลิต สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพทั้ง 7 อย่างได้อย่างเหมาะสม เช่น แผนภูมิพาราโต แผนภูมิก้างปลา แผนภูมิการควบคุมคุณภาพ ฯลฯ ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพ กิจกรรมกลุ่มสร้างคุณภาพ การกำหนดแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบคุณภาพ ความเชื่อถือได้ และการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และสอดคล้องกับเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรม และเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ          ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการควบคุมคุณภาพในการผลิต การบริการ สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพทั้ง 7 อย่างได้อย่างเหมาะสม เช่นแผนภูมิพาราโต แผนภูมิก้างปลา แผนภูมิการควบคุมคุณภาพ ฯลฯ ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมความผันแปร การกำหนดแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล การดำเนินกิจการกลุ่มสร้างคุณภาพ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบคุณภาพ ความเชื่อถือได้และการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยันอดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ตรวจสอบรายชื่อก่อนเข้าและหลังเลิกเรียนทุกครั้ง
ส่งรายงาน แบบฝึกหัดตามเวลาที่กำหนด
การขานชื่อเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบรูณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สืบค้นรายงานและค้นคว้าเพิ่มเติม
ประเมินจากการทดสอบย่อย
ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
สืบค้นรายงานและค้นคว้าเพิ่มเติม
ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย รายงาน นำเสนอหน้าชั้นเรียน/สัมภาษณ์
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายให้ปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม
ประเมินผลจากการทำกิจกรรมกลุ่มและสังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ให้ใช้เครื่องมือ และสื่อนำเสนอผลงาน
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านการค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 TEDIE907 การควบคุมคุณภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.1.4 การขานชื่อเข้าชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม อภิปราย และ เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา 1-16, 9 และ 17 10%
2 2.1.2, 2.1.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5, 9, 14, 17 5%, 30%, 5%, 30%
3 3.1.1, 3.1.2 รายงานและการนำเสนอผลงาน ผลงานที่มอบหมาย/สัมภาษณ์ 1-16 10%
4 4.1.1, 4.1.3 การทำกิจกรรมกลุ่มและสังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง 8,16 5%
5 5.1.1, 5.1.2 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านการค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน 1-16 5%
1.   พิชิต สุขเจริญพงษ์. การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น. เอ็ดยูเคชั่น.  2541.    
2.  ศุภชัย  นาทะพันธ์. การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น. 2551. 
3.  ยุทธ ไกยวรรณ์ และ พงศ์ หรดาล.กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. 2555.
4. เกษม พิพัฒน์ปัญญานุกูล. การควบคุมคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ท้อป, 2557.
5. กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. การวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2544.
6. กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. สถิติสำหรับงานวิศวกรรม เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2539.
7. กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. TQM : การบริหารเพื่อคุณภาพโดยรวม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2557.  
8.  Bester field, D.H. Quality Control. 8th Edition. New Jersey. Pearson Prentice Hall. 2009.
9.  Evans, J. R., and Lindsay, W. M. The Management and Control of Quality. 8th Edition. Canada :  South-Western Cengage Learning, 2011.
10.  Gitlow, H. S., Oppenheim, A. J., Oppenhein, R., and Levine, D. M. Quality Management. 3rd Edition. New York : McGraw-Hill, 2005.
11.  Gryna, F. M., Chua, R. C. H., and DeFeo, J. A. Juran’s Quality Planning and Analysis for Enterprise Quality. 5th Edition. Singapore : McGraw-Hill, 2007.
12. Montgomery, D. C. Introduction to Statistical Quality Control. 5th Edition. USA : John Wiley & Sons., 2005.
13. Montgomery, D. C. Statistical Quality Control: A Modern Introduction. 7th Edition. Singapore : John Wiley & Sons., 2013.
www.google.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาฯ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ