การเขียนความเรียง

Essay Writing

1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนโครงร่างสำหรับเรียงความ การเขียนบทนำ เขียนลำดับเนื้อเรื่องและเขียนบทสรุป
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนางานเขียนด้วยการใช้เทคนิควิธี ถอดความ สรุปความ เรียบเรียง และการอ้างอิงแหล่งข้อมูล
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนเรียงความขนาดสั้นในรูปแบบชนิดต่างๆ ที่ถูกต้องประกอบด้วย 3–5 ย่อหน้าและเขียนในหัวข้อที่หลากหลาย
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเชี่ยวชาญการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำไปสู่วิชาการแขนงต่างๆ อันเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อในระดับสูง
2. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของสังคมนานาชาติโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ
3. เพื่อให้นักศึกษามีความการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง แสดงความคิดเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ด้วยโลกทัศน์ที่กว้างขวาง สอดรับรูปแบบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ปัจจุบัน
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคมและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนความเรียงชนิดต่างๆ โดยเขียนโครงร่างจัดลำดับเนื้อหา คำนำ เนื้อเรื่อง สรุป พัฒนางานเขียนโดยใช้ทักษะในการถอดความ สรุปความ เรียบเรียง และการอ้างอิงแหล่งข้อมูล
Study and practice writing various types of essays including creating an outline, structuring an essay, drafting, editing and revising, paraphrasing, and quoting external sources 
สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ทุกวันพุธ เวลา 15.00 - 16.00 น.
     

š 1.1.2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน  อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม

     

š 1.1.6.  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม 
1. กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน
2. จัดกิจกรรมในรายวิชา (Shoreline Method) ที่ส่งเสริมให้ นศ. ตระหนักใน คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบในการทำงานร่วมกัน ทั้งของตนเอง และส่วนรวม  รวมถึงสิ่งแวดล้อม
1. การเข้าเรียนตรงเวลา
2. การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
3. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
4. การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน หรือ ทำงานกลุ่ม
˜ 2.1.1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
˜ 2.1.2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
2. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
3. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
3. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคเช่นการบ้านงานที่มอบหมายรายงานการทดสอบย่อย
3.1.1  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
3.1.3  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.2.1 การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียนและมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
4.1.4  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.3.1 พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
5.1.4  มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2.1 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
5.3.1 พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสารของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
6.1.2  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
6.2.1 จัดกิจกรรมที่สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในชั้นเรียน
6.3.1 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) 2. ความรู้ (Knowledge) 3. ทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5
1 BOAEC117 การเขียนความเรียง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.6 การเข้าเรียนการแต่งกายการส่งงานการเข้าร่วมกิจกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม ความเอื้อเฟื้อ และความรับผิดชอบในหน้าที่ ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1, 2.2 สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค 8 และ 16 30%
3 3.1,3.3 งานที่มอบหมายผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา/ ทดสอบย่อย ช่วงสัปดาห์ 2 – 15 45%
4 4.4 พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา ภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ทุกสัปดาห์ 5%
5 5.4 พฤติกรรมการใช้ภาษาการสื่อสารของนักศึกษา ช่วงสัปดาห์ 2 – 15 5%
6 6.2 ผลงานนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 10, 12, 14, 15 10%
Chin, Peter; Koizumi, Yusa; Reid, Samuel; Wray, Sean; and Yamazaki, Yoko. 2012. Academic Writing Skills 1. Cambridge.
Savage, Alice and Mayer, Patricia. 2006. Academic Writing 2: The Short Essay. Oxford.
1. Stern, George. 2004. Writing in English. Singapore: Learners Publishing Pte Ltd.
2. Zemach, D. E. and Ghulldu, L. A. 2011. Writing Essays: From Paragraph to Essay. Oxford. Macmillan Publishers Limited.
3.  เว็บไซต์ต่าง ๆ ซึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับการเขียนความเรียง
1. แบบประเมินผู้สอน
2. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 
2.1   การสังเกตการณ์สอนของหัวหน้างาน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
1. ประชุมชี้แจงแก้ไขปัญหาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. ปรับปรุงการเรียนการสอนตามข้อเสนอแนะหัวหน้า และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อปรับปรุง พัฒนา อาจารย์ ให้มีความรู้หลากหลาย และนักศึกษามีการปรับความคิดเห็นในแต่ละวิชาของอาจารย์ผู้สอนใหม่ หรือประสบการณ์ของอาจารย์