การผลิตปศุสัตว์อินทรีย์

Organic Livestock Production

1.1  รู้และเข้าใจความหมาย และคำสำคัญของเกษตรอินทรีย์และปศุสัตว์อินทรีย์
1.2  เข้าใจหลักการพื้นฐานเกษตรอินทรีย์และปศุสัตว์อินทรีย์
1.3  เข้าใจรูปแบบการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์
1.4  เข้าใจขั้นตอนวิธีการรับรองผลผลิตและผลิตภัณฑ์ของปศุสัตว์อินทรีย์
1.5  มีทักษะในการจัดการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.5  ตระหนักถึงประโยชน์ของการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์
2.1 มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการบูรณาการผลิตเกษตรอินทรีย์และปศุสัตว์อินทรีย์ ที่เกี่ยวข้องในการผลิตสัตว์ทางการค้า และมีบทบาทต่อการผลิตสัตว์ภายใต้สภาวะการแข่งขันและการกีดกันทางการค้าของตลาดโลก เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
2.2 สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ในฐานะผู้ประกอบการ นักวิชาการ หรือผู้จัดการฟาร์ม และสามารถคิดวิเคราะห์ได้อย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ
2.3 มีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในจรรยาบรรณของวิชาชีพที่ดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และรับผิดชอบต่อการพัฒนาสังคมและเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย
2.4 มีทัศนคติและเจตคติที่ดีที่ดีต่อวิชาชีพทางการเกษตร
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญ หลักการพื้นฐานเกษตรอินทรีย์และปศุสัตว์อินทรีย์ รูปแบบการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์ การรับรองผลผลิตและผลิตภัณฑ์ของปศุสัตว์อินทรีย์
 จัดให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแกนักศึกษาสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
    3.1 วันพุธ และวันศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสาขาวิชาสัตวศาสตร์ โทร 089-7126620
    3.2 e-mail: usaneeporn_s@hotmail.com  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
Ÿ1.1 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กำหนดหลักเกณฑ์การเข้าห้องเรียนตรงต่อเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย
2. บรรยายและยกตัวอย่างประกอบในเนื้อหา โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
3. ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่นในการสอบ
4. การอ้างอิงบทความวิชาการหรือแหล่งข้อมูลความรู้ต่างๆ มาใช้ต้องให้เกียรติแก่เจ้าของงานนั้น
1. ประเมินการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายของนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
2. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม ตรงต่อเวลา มีวินัยและความสามัคคีในการทำกิจกรรม
3. ประเมินผลรายงาน หรืองานที่นำเสนอมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทางวิชาการถูกต้อง
4. ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
2.1 มีความรู้ และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
Ÿ2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายประกอบการอภิปรายในด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติเกษตรอินทรีย์และปศุสัตว์อินทรีย์ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่นักศึกษาพบเห็น มีสื่อการสอนต่างๆ เช่น ภาพประกอบทั้งภาพนิ่ง เป็นต้น
2. มอบหมายให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3. มอบหมายให้อ่านวารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรอินทรีย์และปศุสัตว์อินทรีย์พร้อมทั้งเขียนรายงานสรุปในเรื่องที่อ่าน และส่งเป็นการบ้าน
4. นำนักศึกษาดูงานด้านปศุสัตว์อินทรีย์นอกสถานที่
5. นำนักศึกษาฝึกการให้ความรู้ที่ได้เรียนมากับนักเรียนโรงเรียนต่างๆ ในกิจกรรมการโครงการค่ายสัตวบาลอาสา ทุกๆปี
1. การทดสอบย่อยระหว่างเรียนในชั้นเรียน
2. การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
3. ประเมินผลจากรายงาน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
4. ประเมินผลการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
5. ประเมินผลความพึงพอใจและความเข้าใจของนักเรียนโรงเรียนที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมกับนักศึกษา
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
Ÿ3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. ในการสอนจะมีการนำนักศึกษาดูงานฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ และให้นักศึกษาวางแผนการทำฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ในการทำฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถเชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การทำฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์โดยอิงบนหลักการและ/หรือทฤษฎีอย่างถูกต้อง
2. การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
3. มอบหมาย problem based project จากแนวคิดหลักการทำปศุสัตว์อินทรีย์รายกลุ่ม เพื่อทดลองและเปรียบเทียบการทำเกษตรแบบปศุสัตว์อินทรีย์และไม่ใช่อินทรีย์
1. ประเมินจากรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ไขปัญหา
2. ทดสอบโดยข้อเขียนและสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
3. ประเมินผลรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในข้อเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
4. ประเมินจาก project ที่ได้รับมอบหมาย การประยุกต์ใช้ตามหลักการวิจัย
5. ประเมินกรณีศึกษา การศึกษาดูงาน เปรียบเทียบกับความรู้ทางวิชาการ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
Ÿ4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กำหนดงานกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่ม และผลัดกันเป็นผู้รายงาน
2. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
3. ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (brainstorming) เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
1. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
2. ประเมินผลแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
3. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
4. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
Ÿ5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นองค์ความรู้จากเอกสาร หรือข้อมูลผ่านทางเครือข่ายสารสนเทศ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
2. มีการนำเสนองานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปที่เหมาะสมกับลักษณะงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
1. ประเมินจากรายงาน ภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียนที่ได้รับมอบหมาย
2. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผล ไหวพริบในการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม และมีการบันทึกเป็นระยะ
3. ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ และมีการจัดเรียงลำดับการนำเสนอ การสร้างกราฟ ภาพ หรือ ตาราง ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 23024417 การผลิตปศุสัตว์อินทรีย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.3, 1.4, 4.1, 4.2, 4.3, 5.3 การเข้าชั้นเรียน/การตรงเวลา/ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนผลงาน /รายงาน/ การศึกษาอิสระ ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.3, 1.4, 2.1, 2.3 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 นำเสนอรายงานเป็นกลุ่มโดยนักศึกษา พฤติกรรมต่างๆ เช่น การร่วมอภิปราย การตอบคำถาม เป็นต้น ทุกสัปดาห์ 20%
3 1.2, 1.3, 1.4, 4.1, 4.2, 4.3, 5.3 การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ คุณธรรม และจริยธรรม ทุกสัปดาห์ 10%
4 1.1, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 9 15 %
5 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.2,2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงานที่ได้รับมอบหมาย 17 30 %
6 1.1, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 18 15 %
วริษา  สินทวีวรกุล. 2555. การผลิตปศุสัตว์อินทรีย์. มทร.ล้านนา ลำปาง
มาตรฐานสินคาเกษตร เกษตรอินทรียเลม 2: ปศุสัตวอินทรีย           http://certify.dld.go.th/certify/images/project/organic/2organic%20Livestock.pdf
1.1 ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยใช้แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
2.1 ประเมินการจัดการเรียนการสอนจากการทดสอบย่อยและตอบคำถามของนักศึกษา ระหว่างการสอนแต่ละหน่วยการเรียน
3.1 ทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสอทธิภาพของรายวิชา
3.2 จัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคการศึกษา
3.3 ให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับสูง เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.4 ประชุมอาจารย์ประจำวิชา เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
3.5 บูรณาการเรียนการสอนกับบริการวิชาการ ภายใต้กิจกรรมโครงการวิจัยในทุกๆปี และกิจกรรมอื่นๆภายใต้งานวิจัยของอาจารย์ผู้สอนเพื่อฝึกการปฏิบัติจริงในเรื่องของพื้นฐานปศุสัตว์อินทรีย์อาหารและการให้อาหาร รวมถึงการเลี้ยงสัตว์ปีกและสัตว์อื่นๆ ภายใต้ข้อมาตรฐานปศุสัตว์อินทรีย์
4.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ
4.2 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
4.3 การแจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
4.4 การออกข้อสอบร่วม
4.5 ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนรายงานและการนำเสนอรายงาน
4.6 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.7 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ
5.2 ประชุมร่วมผู้สอน
5.3 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
5.4 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.5 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ที่กว้างขึ้น