การเขียนเชิงวิชาการ

Academic Writing

1.1เพื่อรู้ เข้าใจ รูปแบบการเขียนย่อหน้าและความเรียงเชิงวิชาการ
1.2 เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในคำศัพท์และโครงสร้างภาษาอังกฤษที่ใช้ในการเขียนเชิงวิชาการ
1.3 เพื่อเรียนรู้เทคนิคการเขียนเชิงวิชาการด้วยวิธีการบันทึก การเขียนสรุปย่อ และการเขียนถอดความ
1.4 เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนแบบเล่าเรื่อง แบบบรรยาย แบบเปรียบเทียบและแบบแสดงความเห็นด้วยการวิเคราะห์และอ้างอิง จากการค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเชิงวิชาการ
1.5 เพื่อเผยแพร่ผลงานเขียนเชิงวิชาการผ่านสื่อต่างๆ
1.6 เพื่อมีทักษะการค้นคว้า สื่อสารข้อมูลด้วยสื่อและเทคโนโลยี
1.7เพื่อมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม และทำงานร่วมกับผู้อื่น
เพื่อให้นักศึกษาเพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาประกอบการเรียน ซึ่งเป็นผลมาจากแนวโน้มการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ต้องมีเทคโนโลยีต่างๆ มาเกี่ยวข้องมากขึ้น เน้นการใช้ทักษะการสื่อสารให้เข้าใจในทุกๆ ศาสตร์ ที่สอดรับกับเนื้อหางานเขียนเชิงวิชาการด้วยภาษาอังกฤษ
ศึกษาการเขียนระดับความเรียงหลายย่อหน้าเชิงวิชาการประเภทต่างๆ โดยการค้นคว้ารวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อ้างอิง และเผยแพร่ผลงานในรูปแบบงานเขียนผ่านสื่อต่างๆ
English for academic writing is about rhetorical composing in various text patterns of academic information by studying / searching / collecting data in order to drills on analyzing, synthesizing, and referring including propagate the output through suitably different media
สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ทุกวันพุธ เวลา 15.00 - 16.00 น.
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  
1. กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน
2. จัดกิจกรรมในรายวิชา (Shoreline Method) ที่ส่งเสริมให้ นศ. ตระหนักใน คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบในการทำงานร่วมกัน ทั้งของตนเอง และส่วนรวม  รวมถึงสิ่งแวดล้อม  
1. การเข้าเรียนตรงเวลา
2. การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
3. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
4. การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน หรือ ทำงานกลุ่ม
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.3สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพ กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
˜2.4 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ และฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนด
2. การสอนโดยให้ นศ. ไปศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
3. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1. การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2. การวิเคราะห์บริบทจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
3.     ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน
ชั้นเรียน
4. ประเมินจาก ผู้สอน เพื่อน และอาจารย์จากภายนอก
˜3.1มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
š 3.3มีทักษะในการนำความรู้ประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสม ตามสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
การสอนแบบ Brain  Storming Group เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เฉพาะที่กำหนด การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยวิเคราะห์กรณีศึกษาและตัวอย่างจากสถานการณ์จริง การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะ การสอนฝึกปฏิบัติการเขียน
1. การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
2. การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3. การฝึกปฏิบัติการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
š4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.3ทำงานเป็นทีม และแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
 
1. ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
2. ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
3.     สังเกตพฤติกรรมในการเรียนจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
š5.2สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
แนะนำวิธีการและเครื่องมือสำหรับสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เผยแพร่งานเขียนผ่านสื่อ
1. ข้อมูลจากการค้นคว้าและศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา
2. ผลงานการเขียนและใช้สื่อและ เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 13031330 การเขียนเชิงวิชาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) ===> 1.2, 1.3 1. การเข้าเรียนตรงเวลา 2. การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 2 – 15 5%
2 2. ความรู้ (Knowledge) ===>2.1, 2.3, 2.4 1. การสอบ 2. แบบฝึกหัด 3, 6, 9, 11, 13, 15, 17 40%, 25%
3 3. ทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) ===> 3.1, 3.2, 3.3 กิจกรรม / งานมอบหมาย 12–16 20%
4 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) ===> 4.1, 4.3 1. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน 2. การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน หรือ ทำงานกลุ่ม 5 - 14 5%
5 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) ===> 5.2 งานมอบหมาย 3-15 5%
เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนเชิงวิชาการ
Chin, Peter; Koizumi, Yusa; Reid, Samuel; Wray, Sean; and Yamazaki, Yoko. 2012. Academic Writing Skills 1. Cambridge.
Savage, Alice and Mayer, Patricia. 2006. Effective Academic Writing 2: The Short Essay. Oxford.
Blanchard, K. and Root, C. 1994. Ready to Write: A First Composition Text. New York: Addison-Wesley Publishing Company. Davis, Jason & Lies, Rhonda. 2006. Effective Writing 3. New York: Oxford University Press. English Department. 1994. Written Expression III. Chiangmai University. Ingram, B and King, C. 2004. From Writing to Composing. Cambridge: Cambridge University Press. Jordan, R. R. 1999. Academic Writing Course: Study Skills in English. Essex: Pearson Education Limited. Oshima, A. and Hogue, A. 1999. Writing Academic English. 3rd Edition. New York: Addison-Wesley Longman. Zemach, D. E. and Ghulldu, L. A. 2011. Writing Essays: From Paragraph to Essay. Oxford. Macmillan Publishers Limited. เว็บไซต์ต่าง ๆ ซึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับการเขียนความเรียงเชิงวิชาการ และข้อมูลที่นักศึกษาสนใจ
   1.1 แบบประเมินผู้สอน 
   1.2 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
   2.1 การประเมินการสอนจากหัวหน้า หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
   2.2 การประเมินการสอนจากผลการเรียนของนักศึกษา
   2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
   นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
   3.1 ประชุมชี้แจงแก้ไขปัญหาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
   4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา
   4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
   5.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนตามข้อเสนอแนะหัวหน้า และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
   5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อปรับปรุง พัฒนา อาจารย์ ให้มีความรู้หลากหลาย และนักศึกษามีการปรับความคิดเห็นในแต่ละวิชาของอาจารย์ผู้สอนใหม่ หรือประสบการณ์ของอาจารย์