การควบคุมคุณภาพ

Quality Control

ศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของระบบการผลิต สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพทั้ง 7 อย่างได้อย่างเหมาะสม เช่น แผนภูมิพาราโต แผนภูมิก้างปลา แผนภูมิการควบคุมคุณภาพ ฯลฯ ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพ กิจกรรมกลุ่มสร้างคุณภาพ การกำหนดแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบคุณภาพ ความเชื่อถือได้ และการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และสอดคล้องกับเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรม และเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการควบคุมคุณภาพในการผลิต การบริการ สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพทั้ง 7 อย่างได้อย่างเหมาะสม เช่นแผนภูมิพาราโต แผนภูมิก้างปลา แผนภูมิการควบคุมคุณภาพ ฯลฯ ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมความผันแปร การกำหนดแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล การดำเนินกิจการกลุ่มสร้างคุณภาพ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบคุณภาพ ความเชื่อถือได้และการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยันอดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ตรวจสอบรายชื่อก่อนเข้าและหลังเลิกเรียนทุกครั้ง 
ส่งรายงาน แบบฝึกหัดตามเวลาที่กำหนด
การขานชื่อเข้าชั้นเรียน และการ
ส่งงานตรงเวลา
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาใน
การปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ
ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และการมีส่วนร่วมในกลุ่มอภิปรายงาน
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบรูณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สืบค้นรายงานและค้นคว้าเพิ่มเติม
ประเมินจากการทดสอบย่อย
ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
สืบค้นรายงานและค้นคว้าเพิ่มเติม
ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย รายงาน /สัมภาษณ์
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายให้ปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม
ประเมินผลจากการทำกิจกรรมกลุ่มและสังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ให้ใช้เครื่องมือและสื่อนำเสนอผลงาน
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านการค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 TEDIE907 การควบคุมคุณภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 2.1.4 การขานชื่อเข้าชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม อภิปราย และเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16, 9 และ 17 10%
2 2.1.2, 2.1.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5, 9, 14, 17 5%, 30%, 5%, 30%
3 3.1.1 ,3.1.2 รายงานและการนำเสนอผลงาน ผลงานที่มอบหมาย/สัมภาษณ์ 1-16 10%
4 4.1.1,.4.1.3 การทำกิจกรรมกลุ่มและสังเกต พฤติกรรมการระดมสมอง 8, 16 5%
5 5.1.1, 5.1.2 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้าน การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน 1-16 5%
พิชิต สุขเจริญพงษ์. การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2541.

2. ศุภชัย นาทะพันธ์. การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น. 2551.
3. ยุทธ ไกยวรรณ์ และ พงศ์ หรดาล.กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. 2555.
4. เกษม พิพัฒน์ปัญญานุกูล. การควบคุมคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ท้อป, 2557.
5. กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. การวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2544.
6. กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. สถิติสำหรับงานวิศวกรรม เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2539.
7. กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. TQM : การบริหารเพื่อคุณภาพโดยรวม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2557.
8. Bester field, D.H. Quality Control. 8th Edition. New Jersey. Pearson Prentice Hall. 2009.
9. Evans, J. R., and Lindsay, W. M. The Management and Control of Quality. 8th Edition. Canada : South-Western Cengage Learning, 2011.
10. Gitlow, H. S., Oppenheim, A. J., Oppenhein, R., and Levine, D. M. Quality Management. 3rd Edition. New York : McGraw-Hill, 2005.
11. Gryna, F. M., Chua, R. C. H., and DeFeo, J. A. Juran’s Quality Planning and Analysis for Enterprise Quality. 5th Edition. Singapore : McGraw-Hill, 2007.
12. Montgomery, D. C. Introduction to Statistical Quality Control. 5th Edition. USA : John Wiley & Sons., 2005.
13. Montgomery, D. C. Statistical Quality Control: A Modern Introduction. 7th Edition. Singapore : John Wiley & Sons., 2013.
www.google.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาฯ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ