ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

Textile Product Design

1.1     รู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 1.2      รู้แนวความคิดที่ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 1.3      เข้าใจกระบวนการขั้นตอนในการออกแบบผลิตภัณฑ์ 1.4      เข้าใจการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 1.5      เข้าใจการวิเคราะห์และประมวลผลการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ  1.6      มีทักษะในการนำเสนอผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับ  หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ  แนวความคิดที่ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ   กระบวนการขั้นตอนในการออกแบบผลิตภัณฑ์   การสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ  การวิเคราะห์และประมวลผลการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ  การนำเสนอผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ  
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ  แนวความคิดที่ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ   กระบวนการขั้นตอนในการออกแบบผลิตภัณฑ์ การสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ  การวิเคราะห์และประมวลผลการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ  การนำเสนอผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งเวลาในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน    -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)  
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ 1.1.1  มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา  และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม  และสิ่งแวดล้อม
1.2.1  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นมีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา  และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม  และสิ่งแวดล้อม 
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา   
2.2.1 บรรยาย อภิปราย เกี่ยวกับเนื้อหาของการตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 2.2.2 การนำเสนอด้วยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เกี่ยวกับการตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 2.2.3 การวิเคราะห์ และให้นาเสนอกรณีศึกษา เกี่ยวกับการตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2.3.2 ประเมินจากผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการนำเสนอผลงาน
3.1.1 มีทักษะในการนำความรู้ในการปฏิบัติจากการการตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอและประยุกต์ผลิตภัณฑ์สิ่งทอได้หลายรูปแบบ  ทั้งทางด้านวิชาการหรือด้านวิชาชีพ  
3.2.1   มอบหมายงาน และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานกลุ่มที่ให้ปฏิบัติและประยุกต์วิเคราะห์ผลงาน และแก้ไขปัญหา 3.2.2   การศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน 3.3.2 ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
4.1.1   สามารถใช้ความรู้พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการนำความรู้การตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ การทำงานแต่ละขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดี 
4.3.1 ประเมินจากการร่วมจัดกิจกรรมกลุ่ม และการรายงานผลของการจัดกิจกรรม 4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ จากระบบสารสนเทศและ  นำเสนอโดยรูปแบบวิธีการและสื่อสารที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลการหาข้อมูลที่ถูกต้องจากวิธีการและสื่อสาร ระบบสารสนเทศ 5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ และวิธีการนำเสนอด้วยวิธีการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม  
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.2 2.2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 2.1 3.1.1-3.1.2 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1.2-1.1.5 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
ธีระชัย  สุขสด, การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, กรุงเทพ, โอเดียสโตร์, 2544 ตระกูลพันธ์  พัชรเมธา, การนำเสนองานออกแบบอุตสาหกรรม, กรุงเทพ, โอเดียสโตร์, 2548 วัชรินทร์  จรุงจิตสุนทร, หลักการและแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์, กรุงเทพ, iDesign Publishing, 2548 นิติ กสิโกศล. (2541). การพัฒนาอุตสาหกรรมไหมไทยในภาคอีสาน : รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2444-2455).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ไมตรี เกตุขาว. (2540). การศึกษาลวดลายผ้าตีนจกในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย.
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4