การทำแบบตัด

Cutting Pattern

1.1   รู้หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการสร้างแบบ   1.2   รู้การวัดตัวเพื่อสร้างแบบตัด   1.3  เข้าใจการสร้างแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ   1.4  เข้าใจการปรับแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ   1.5  มีทักษะในการสร้างแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ  
เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน และเนื้อหาให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบันสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนด เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานการทำแบบตัด  เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการทำแบบตัดกระโปรง  การทำแบบตัดเสื้อ  การทำแบบตัดกางเกง  การทำแบบตัดชุดโอกาสพิเศษ  ในรายวิชาอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง  อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานสากล
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานการทำแบบตัด  การทำแบบตัดกระโปรง  การทำแบบตัดเสื้อ  การทำแบบตัดกางเกง  การทำแบบตัดชุดโอกาสพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน   
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง / สัปดาห์
 1.1.1    มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.2.1    บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของจิตสาธารณะในวิชาชีพ การทำแบบตัดเสื้อผ้า   1.2.2    ฉายสื่อภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับกิจกรรมจิตสานึกสาธารณะในวิชาชีพ 1.2.3     จัดกิจกรรมจิตสาธารณะภายในห้องเรียน
 1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 
2.2.1 บรรยาย อภิปราย เกี่ยวกับเนื้อหาของการสร้างแบบตัดเสื้อผ้า    2.2.2 การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เกี่ยวกับการสร้างแบบตัดเสื้อผ้า    2.2.3 การวิเคราะห์ และให้นาเสนอกรณีศึกษา เกี่ยวกับการสร้างแบบตัดเสื้อผ้า   
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2.3.2 ประเมินจากผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการนำเสนอผลงาน
3.1.1 มีทักษะในการนำความรู้ในการปฏิบัติจากการสร้างแบบตัดเสื้อผ้า  และประยุกต์เสื้อผ้าได้หลายรูปแบบ  ทั้งทางด้านวิชาการหรือด้านวิชาชีพ  
3.2.1   มอบหมายงาน และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานกลุ่มที่ให้ปฏิบัติและประยุกต์วิเคราะห์ผลงาน และแก้ไขปัญหา 3.2.2   การศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน 3.3.2 ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
4.1.1   สามารถใช้ความรู้พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการนำความรู้การทำแบบตัดเสื้อผ้า การทำงานแต่ละขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดี 
4.3.1 ประเมินจากการร่วมจัดกิจกรรมกลุ่ม และการรายงานผลของการจัดกิจกรรม 4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ จากระบบสารสนเทศและ  นำเสนอโดยรูปแบบวิธีการและสื่อสารที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลการหาข้อมูลที่ถูกต้องจากวิธีการและสื่อสาร ระบบสารสนเทศ 5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ และวิธีการนำเสนอด้วยวิธีการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3.1 5.2 การปฏิบัติงานและผลงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนาเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1 4.2 การเข้าชั้นเรียน การทางานกลุ่ม และผลการทางาน ทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ตลอดภาคการศึกษา 10%
 1.  กาญจนา ภานุโสภณ. เรียนตัดเสื้อ งามวิไล. กรุงเทพฯ: ศรีสยามการพิมพ์. 2538. 2. จิตรพี ชวาลาวัณย์. ตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2549.  3. จิตรพี ชวาลาวัณย์. ตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อแกรมมี่, 2539.  4. เจียรพรรณ โสภโณ. ชุดตำราเรียนตัดเสื้อสตรีนพเก้า. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์, 2526. 5. ชูศรี อรุณไวกิจ. วิทยาการตัดเสื้อสตรี - เสื้อชาย. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิค, ม.ป.ท. 6. ดวงดาว ท่ามตระกูล. หลักสูตรการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ:อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอการตนด์ พับลิชชิ่ง,  2548 . 7. นิตยา นันทตันติ. ตัดเย็บเสื้อผ้าเบื้องต้น. เชียงใหม่: โรงพิมพ์ดาราวรรณเชียงใหม่, 2542. 8. นัยนา มานิตย์. ตำราสอนตัดเสื้อกุลสตรี (ชุดอมตะ). กรุงเทพฯ: บวรสารกรพิมพ์, ม.ป.ท. 9. ปกรณ์ วุฒิยางกูร. คู่มือช่างเสื้อ กรุงเทพมหานคร: พับพิธการพิมพ์, ม.ป.ท. 10. พยุง วงศ์ศศิธร. ตำราตัดเสื้อสตรี เล่มพิเศษ 3. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง, ม.ป.ท. 11. เฟื่องฟูรัตน์ มุ่งทวีสินสุข. การสร้างแบบเสื้อผ้าอุตสาหกรรม ระบบเยอรมัน - สตรี, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  2548.  12. วณิชา เพชรสุวรรณ. โครงงานตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์, 2533. 13. วนิทร สอนพรินทร์. การทำแบบตัดและเทคนิคการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: เกียรติกรการพิมพ์,  2005. 14. วารุณี วงษา. ศัพท์พื้นฐานการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: มิตรสยาม, 2534. 15. วาสนา สว่างคำ. ตำราตัดเสื้อสตรี. กรุงเทพฯ, 3530. 16. รสสุคนธ์ พราหมณ์เสน่ห์. ตำราตัดเสื้อสตรีฉบับก้าวหน้า. กรุงเทพฯ: วงศ์สว่างการพิมพ์, ม.ป.ท. 17. ศรีกาญจนา พลอาสา. การตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปเชิงอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2540. 18. Bina Abling and Kathleen Maggio. Integrating Draping, Drafting, & Drawing.   ed. New  York:  Fairchilol  Publication,  2009.   19. Hollen Normar and Kundel J. Carolyn, Pattern Marking.   ed. USA: Macmillasn, 1993. 20. Metric Pattern Cutting.   ed. Great Britain: The University Press, 1992. 21. Rohr, M. Pattern Drafting & Grading. Rev  ed. Montclair, N.J. : Rohr, 1992.  
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1  การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
 ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา 2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด 3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
 จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 การประชุมกรรมการประจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา