วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น
Introduction to Environmental Science and Engineering
1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โดยเน้นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพสิ่งแวดล้อมและองค์ประกอบของระบบนิเวศทั้งสิ่งที่มีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต
1.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในระบบนิเวศในดิน น้ำและอากาศ รวมถึงสาเหตุ ผลกระทบ วิธีแก้ไขและการป้องกันการเกิดมลพิษทางดิน น้ำและอากาศ
1.3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในความแตกต่างของพลังงานในรูปแบบต่างๆ และการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ จากผู้ผลิตอาหารไปสู่ผู้บริโภคลำดับต่างๆ
1.4 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในนวัตกรรมและเทคโนโลยีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ได้แก่ การผลิตน้ำประปา การบำบัดน้ำเสียและกากตะกอน รวมถึงการจัดการขยะชุมชนและของเสียอันตราย
1.5 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับเสียงและแสง รวมถึงมลภาวะทางเสียงและมลภาวะทางแสง
1.6 สามารถทำการวิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษที่เกิดขึ้นในระบบนิเวศโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น รวมทั้งอภิปรายผลกระทบของมลพิษต่อสิ่งมีชีวิตและวิธีการแก้ไขป้องกัน
1.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในระบบนิเวศในดิน น้ำและอากาศ รวมถึงสาเหตุ ผลกระทบ วิธีแก้ไขและการป้องกันการเกิดมลพิษทางดิน น้ำและอากาศ
1.3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในความแตกต่างของพลังงานในรูปแบบต่างๆ และการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ จากผู้ผลิตอาหารไปสู่ผู้บริโภคลำดับต่างๆ
1.4 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในนวัตกรรมและเทคโนโลยีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ได้แก่ การผลิตน้ำประปา การบำบัดน้ำเสียและกากตะกอน รวมถึงการจัดการขยะชุมชนและของเสียอันตราย
1.5 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับเสียงและแสง รวมถึงมลภาวะทางเสียงและมลภาวะทางแสง
1.6 สามารถทำการวิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษที่เกิดขึ้นในระบบนิเวศโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น รวมทั้งอภิปรายผลกระทบของมลพิษต่อสิ่งมีชีวิตและวิธีการแก้ไขป้องกัน
เพื่อพัฒนาเนื้อหาวิชาให้เหมาะสม ตรงจุดประสงค์และครอบคลุมรายละเอียดทุกเรื่องที่เป็นสาระสำคัญของเนื้อหารายวิชา สามารถเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมและด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย รวมทั้งเพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและสามารถความรู้ไปใช้ในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศกวรรมสิ่งแวดล้อมขั้นสูงต่อไป และเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์จากกรณีศึกษาที่แตกต่างกันและส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสภาพสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ที่ประกอบด้วยดิน น้ำ อากาศและพลังงาน แหล่งกำเนิดของมลพิษ ผลกระทบของมลพิษต่อสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์ มลภาวะทางอากาศ มลภาวะทางเสียง รวมทั้งวิธีการแก้ไขและป้องกันการเกิดมลพิษ ตลอดจนการศึกษานวัตกรรมและเทคโนโลยีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ได้แก่ การผลิตน้ำประปา การบำบัดน้ำเสียและกากตะกอน การจัดการขยะชุมชนและของเสียอันตราย
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- ติดต่อทาง e-mail address ที่ rungnapha@rmutl.ac.th
- ติดต่อทาง e-mail address ที่ rungnapha@rmutl.ac.th
1) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
2) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1) ในชั่วโมงแรกของการเรียนการสอน ทำการชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงข้อตกลงและบทลงโทษ ในการเข้าเรียนตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด และการใช้เครื่องมือสื่อสารระหว่างการเรียนการสอน
2) ให้นักศึกษาทำงานที่มอบหมายด้วยตัวเองและส่งภายในเวลาที่กาหนด โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาโดยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
3) ให้ความรู้โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ
2) ให้นักศึกษาทำงานที่มอบหมายด้วยตัวเองและส่งภายในเวลาที่กาหนด โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาโดยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
3) ให้ความรู้โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ
1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2) ประเมินจากพฤติกรรมการใช้เครื่องมือสื่อสารระหว่างการเรียน
3) ประเมินจากการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4) ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
2) ประเมินจากพฤติกรรมการใช้เครื่องมือสื่อสารระหว่างการเรียน
3) ประเมินจากการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4) ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1) ใช้การสอนหลายรูปแบบโดยเน้นเนื้อหาสาระที่ครอบคลุม เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ ทั้งการบรรยายแบบ active learning เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและเปิดโอกาสให้ซักถาม
2) ฝึกการแก้ปัญหาและการวิเคราะห์จากแบบฝึกหัดกรณีศึกษา ตามเนื้อหาที่กำหนดในบทเรียนและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่ม
3) ใช้กิจกรรมการลงมือปฏิบัติแบบร่วมมือประกอบการสอนโดยบูรณาการการเรียนการสอนกับการแก้ไขปัญหาในการทำงานจริงได้ (work-integrated learning) พร้อมให้นักศึกษาทำรายงานประกอบเป็นกลุ่มและนำเสนอผลงาน
1) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและสอบปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2) ประเมินจากการแก้ไขปัญหาในการทำงานจริง
3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำเกี่ยวกับกรณีศึกษา
4) ประเมินจากการนำเสนอรายงานผลการค้นคว้าข้อมูลของกรณีศึกษาในชั้นเรียน
2) ประเมินจากการแก้ไขปัญหาในการทำงานจริง
3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำเกี่ยวกับกรณีศึกษา
4) ประเมินจากการนำเสนอรายงานผลการค้นคว้าข้อมูลของกรณีศึกษาในชั้นเรียน
1) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1) ให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อประกอบการสอน เช่น แผ่นใส PowerPoint และความรู้ที่เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
2) วิเคราะห์กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
3) ให้นักศึกษาระดมสมอง แสดงความคิดเห็นและอภิปรายทั้งเป็นรายบุคลคลและเป็นกลุ่มย่อย
2) วิเคราะห์กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
3) ให้นักศึกษาระดมสมอง แสดงความคิดเห็นและอภิปรายทั้งเป็นรายบุคลคลและเป็นกลุ่มย่อย
1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
2) วัดผลจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3) ประเมินจากการอภิปรายและตอบคำถาม
4) สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
2) วัดผลจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3) ประเมินจากการอภิปรายและตอบคำถาม
4) สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
1) รู้จักบทบาท หน้าที่และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
1) ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เหมาะสมกับงานที่เกี่ยวข้องและการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้
2) มอบหมายการทำงานกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา โดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำและเป็นสมาชิกกลุ่ม
3) การนำเสนอรายงาน
2) มอบหมายการทำงานกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา โดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำและเป็นสมาชิกกลุ่ม
3) การนำเสนอรายงาน
1) ประเมินพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม ทั้งภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
2) ประเมินจากรายงานที่นำเสนอและความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
3) ประเมินพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
1) มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning ที่เกี่ยวข้องและทำรายงานโดยเน้นการนำข้อมูลสารสนเทศหรือทางสถิติจากแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ
2) นำเสนอผลงานโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2) นำเสนอผลงานโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและสถิติที่เกี่ยวข้อง
2) ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
3) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
2) ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
3) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
2) จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
3) สนับสนุนการทำโครงงาน
2) จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
3) สนับสนุนการทำโครงงาน
1) มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
2) มีการประเมินผลงานของนักศึกษา
3) มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
2) มีการประเมินผลงานของนักศึกษา
3) มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะพิสัย | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม | มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติตามเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม | สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ | สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ | รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ | มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี | มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี |
1 | 33061401 | วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | • ความรู้ | • สอบกลางภาค • สอบปลายภาค | 9 และ 17 | 35% และ 35% |
2 | • ทักษะทางปัญญา • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ทักษะพิสัย | • การทำรายงาน • การทำงานกลุ่มและผลงาน • การนำเสนอรายงานกลุ่ม • การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | • การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา • คุณธรรมจริยธรรม | • การเข้าชั้นเรียน • การมีส่วนร่วมอภิปรายและเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
1.1 Davis, M. L. and Masten, S. J., 2004. Principles of Environmental Engineering and Science. McGraw-Hill, USA.
1.2 Metcalf and Eddy, 2004. Wastewater Engineering: Treatment and Reuse. International edition Fourth ed. McGraw-Hill, USA.
1.3 สุรพงษ์ วัฒนะจีระ, 2542. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตัวอย่างงาน
3.1 เวปไซต์ http://www.deqp.go.th/ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
3.2 เวปไซต์ http://www.dwr.go.th/ กรมทรัพยากรน้ำ
3.3 เวปไซต์ http://www.mnre.go.th/main.php?filename=index กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.4 เวปไซต์ http://www.pcd.go.th/ กรมควบคุมมลพิษ
3.5 เวปไซต์ http://www.tei.or.th/ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
3.2 เวปไซต์ http://www.dwr.go.th/ กรมทรัพยากรน้ำ
3.3 เวปไซต์ http://www.mnre.go.th/main.php?filename=index กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.4 เวปไซต์ http://www.pcd.go.th/ กรมควบคุมมลพิษ
3.5 เวปไซต์ http://www.tei.or.th/ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มระหว่างผู้สอนและนักศึกษาเป็นรายบุคคลและกลุ่ม
1.2 นักศึกษากรอกแบบสอบถาม เพื่อประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชา
1.3 ข้อแนะนำผ่านการให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน
1.1 การสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มระหว่างผู้สอนและนักศึกษาเป็นรายบุคคลและกลุ่ม
1.2 นักศึกษากรอกแบบสอบถาม เพื่อประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชา
1.3 ข้อแนะนำผ่านการให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 จากการสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนระหว่างการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียนและจากงานที่รับมอบหมาย รวมทั้งความคิดเห็นของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนและการทำงานของนักศึกษา ทั้งกลางภาคและปลายภาค
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 จากการสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนระหว่างการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียนและจากงานที่รับมอบหมาย รวมทั้งความคิดเห็นของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนและการทำงานของนักศึกษา ทั้งกลางภาคและปลายภาค
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 ปรับปรุงเนื้อหา รูปแบบการเรียนรู้ และจัดหากิจกรรมให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
3.2 การสนับสนุนการวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3 ใช้เทคนิคการเรียนการสอนที่ง่าย และสรุปผลการเรียนรู้ร่วมกันจากกิจกรรมกลุ่มและงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้เกิดการฝึกปฏิบัติทั้งในและนอกชั้นเรียน
3.1 ปรับปรุงเนื้อหา รูปแบบการเรียนรู้ และจัดหากิจกรรมให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
3.2 การสนับสนุนการวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3 ใช้เทคนิคการเรียนการสอนที่ง่าย และสรุปผลการเรียนรู้ร่วมกันจากกิจกรรมกลุ่มและงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้เกิดการฝึกปฏิบัติทั้งในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ โดยการสังเกต สัมภาษณ์ สอบถาม และตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาหรืองานที่ได้รับมอบหมาย
4.2 การทวนสอบโดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.3 ติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าในการทำงานของนักศึกษาเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.1 การทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ โดยการสังเกต สัมภาษณ์ สอบถาม และตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาหรืองานที่ได้รับมอบหมาย
4.2 การทวนสอบโดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.3 ติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าในการทำงานของนักศึกษาเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ทบทวนเนื้อหาของบทเรียนให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
5.2 ปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบกิจกรรมทุกปี เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและให้ทันกับ ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป
5.3 ปรับปรุงรายวิชาให้สอดคล้องกับสภาวิศวกรในการสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรสิ่งแวดล้อม
5.1 ทบทวนเนื้อหาของบทเรียนให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
5.2 ปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบกิจกรรมทุกปี เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและให้ทันกับ ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป
5.3 ปรับปรุงรายวิชาให้สอดคล้องกับสภาวิศวกรในการสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรสิ่งแวดล้อม