อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง

Opto Electronics

เพื่อให้นักศึกษา โฟโต้ไดโอด โฟโต้ทรานซิสเตอร์
1.  เข้าใจคุณสมบัติของคุณสมบัติของคลื่นแสง แถบความถี่ของคลื่นแสง
          2.  รู้ทฤษฏีโครงสร้างและหลักการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง
          3.  เข้าใจการจัดไบแอสของไดโอดเปล่งแสง
          4.  เข้าใจการจัดไบแอสของของโฟโต้ทรานซิสเตอร์
          5.  เข้าใจการจัดไบแอสของเลเซอร์ไดโอด
          6.  เข้าใจการทำงานของวงจรขับและควบคุมสำหรับอุปกรณ์ทางแสง
          7.  เข้าใจหลักการทำงานของแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง
          8.  มีทัศนคติที่ดีต่อรายวิชาอิเล็กทรอนิกส์ทางแสง
เพื่อให้มีความชัดเจนในกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ให้เนื้อหาสอดรับกับหลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ. 2560 เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนความทันสมัยของสื่อการเรียนการสอน และสอดคล้องกับผู้เรียน

เพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของคลื่นแสง แถบความถี่ของคลื่นแสง โครงสร้างและหลักการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง เช่น ไดโอดเปล่งแสง โฟโต้ไดโอด โฟโต้ทรานซิสเตอร์ เลเซอร์ไดโอด วงจรขับและควบคุม แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง
ใช้เวลาให้คำปรึกษาในห้องเรียนและนอกห้องเรียนตามโอกาสของนักศึกษา ไม่ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจนเนื่องจากบริบทของผู้สอนและผู้เรียนมามหาวิทยาลัยและพบเจอกันตลอดในระหว่างมีการเรียนการสอน
        พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรมจริยธรรมโดยอิงจากประสบการณ์ที่พบเห็นจากการวัดผลการทำงานของ Production Process  มาควบคู่กับการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
        1.1.1  คุณภาพของงาน : ความถูกต้องในคุณภาพของการบ้าน  งาน  ประสิทธิภาพการเรียน ความรู้ความเข้าใจในหลักและวิธีการปฏิบัติในหน้าที่นักศึกษา
        1.1.2  ปริมาณของงาน : จำนวนผลงานที่ทำได้สำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนด การคำนึงถึงการใช้จ่ายทรัพยากร อุปกรณ์ในการทำงาน
        1.1.3  การมาเรียน : การมาเรียน การตรงเวลา การขาด  ลา สาย ป่วย และความสม่ำเสมอในการมาเรียน
        1.1.4  ระเบียบวินัย : ปฏิบัติตนตามระเบียบวินัยข้อบังคับ เชื่อฟัง ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์รายวิชา สาขา และมหาวิทยาลัย
        1.1.5  การให้ความร่วมมือ : การประสานงาน ความร่วมมือกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน และผู้เกี่ยวข้อง การเชื่อฟังหัวหน้าห้อง การเรียนรู้ และความสามารถในการควบคุมอารมณ์
1.2.1  บรรยายยกตัวอย่างเรื่องเล่าที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมร่วมในการจัดการเรียนการสอน
          1.2.2  สร้างข้อตกลงเกี่ยวกับเรื่องวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด การแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
          1.2.3   ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในด้านคุณธรรม จริยธรรมกับผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
1.3.1   มีการให้คะแนนการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงาน
          1.3.2   หากมีการกระทำทุจริตในการสอบถูกตัดคะแนน
          1.3.3   มีการให้คะแนนคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษาและการมีจรรยาบรรณในการอ้างอิงที่ไปที่มาของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงาน
         มีความรู้และเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของคลื่นแสง แถบความถี่ของคลื่นแสง โครงสร้างและหลักการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง เช่น ไดโอดเปล่งแสง โฟโต้ไดโอด โฟโต้ทรานซิสเตอร์ เลเซอร์ไดโอด วงจรขับและควบคุม แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง
ในรายวิชานี้การสอนความรู้เฉพาะการสอนในชั่วโมงทฤษฎี จำนวน 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ผู้สอนสามารถใช้กลวิธการสอน เทคนิคการสอนที่เห็นว่าเหมาะสมกับเนื้อหาและเรื่องที่จะทำการสอนในแต่ละสัปดาห์รวมถึงพิจารณาจากสภาพผู้เรียน ห้องเรียน สื่อ
2.3.1   ใช้แบบทดสอบย่อย ข้อสอบลางภาค ข้อสอบปลายภาค
2.3.2   จากคะแนนประเมินจากการทำงาน และส่งงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และ บูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.1  ให้ผู้เรียนนำความรู้ชั่วโมงทฤษฎีและข้อมูลจากการค้นคว้าเพิ่มเติมมาใช้ในการเตรียมการของการทำใบงาน
          3.2.2    มีการมอบหมายงานให้ใช้โปรแกรมช่วยในการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์
3.3.1   สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และการคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ บูรณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชาการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์
3.3.2   ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน
3.3.3   วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน
3.3.4   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเนื้อหาวิชาในส่วนของการวิเคราะห์วงจรด้วยโปรแกรมจำลองการทำงานของอุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ผลของตัวอย่างวงจรที่กำหนดให้
5.1.4   พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตอย่างเป็นระบบ
5.1.5   พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้เรียน และการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
5.1.6   พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
          5.1.7  พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษาได้
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   สังเกตทักษะที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
          6.1.1 แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานใน
วิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบ
หลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์
            6.1.2  แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึง
ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมี
นวัตกรรม
6.2.1   สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.3.1   ประเมินจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน
6.3.2   ประเมินผลทักษะในการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2
1 TEDEE228 อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1, 2.2,3.1,3.2,5.1,5.2 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค ทดสอบย่อย สอบปลายภาค 4 9 12 17 10% 20% 10% 20%
2 1.3,2.1,2.2,3.1,3.2,4.2,4.3,5.1,5.2 งาน รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.3, 4.2,4.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
           - เอกสาร และไฟล์ประกอบการเรียนการสอนของอาจารย์อนุสรณ์เรียบเรียง
          - DATASHEET ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้ Download จาก Internet Data Base
    - เทคนิคการอ่านDATASHEET ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
    - การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการนำมาวิเคราะห์ช่วยศึกษาการทำงานของอุปกรณ์
ใช้การประเมินประสิทธิผลรายวิชาที่ได้จากนักศึกษาผ่านแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บ ของมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  คือ ใช้ผลการผลการเรียนของนักศึกษาหลังจากสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู้ว่ามีการกระจายคะแนนดีหรือไม่
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน หาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน พัฒนาสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนและพัฒนาเทคนิคการสอนให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้จากคะแนนสอบและเกรด
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  คือ  ปรับปรุงรายวิชาทุก ๆ ภาคเรียน หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4