ภูมิปัญญาล้านนาในงานศิลปกรรม

Lanna Wisdom in Arts

๑.๑. รู้ความหมายและความเป็นมาของภูมิปัญญาล้านนา
๑.๒. เข้าใจหลักการความเชื่อมโยงและอิทธิพลทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย กับการสร้างงานศิลปกรรม
๑.๓. รู้จักวิเคราะห์ลักษณะงานศิลปกรรมกับภูมิปัญญาล้านนา
๑.๔. เห็นคุณค่าการอนุรักษ์ภูมิปัญญาล้านนาและพัฒนางานศิลปกรรมล้านนา
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ภูมิปัญญาล้านนาในงานศิลปกรรม สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรวิชาเอกศิลปะไทย ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการเกิดภูมิปัญญาไทย ที่มา ความเชื่อมโยงและอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยกับแนวทางการสร้างงานศิลปกรรม
ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการเกิดภูมิปัญญาล้านนา ที่มา ความเชื่อมโยงและอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยกับแนวทางการสร้างงานศิลปกรรม การวิเคราะห์ลักษณะงานศิลปกรรมกับภูมิปัญญาล้านนา คุณค่าภูมิปัญญาไทยในการอนุรักษ์และพัฒนางานศิลปกรรมล้านนา
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
 
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฎิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
 
 

การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากการปฏิบัติงานของนักศึกษาและประเมินจากผลงานที่ปฎิบัติ ประเมินจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาเเล้ว ดังนั้นนักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม อาจารย์ต้องเน้นให้นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
2. ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
3. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้

กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป้นผู้นำและผู้รายงาน ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัย ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ มอบหมายงานให้สัมภาษณ์บุคลต่างๆ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
 
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกตต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
1. มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละบุคคลถนัดได้

สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม

4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน
5. มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
สร้างเจตคติที่ดีต่อการฝึกปฏิบัติ จัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในที่สาธารณะเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์และฝึกปฏิบัติงานด้วยใจ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์เป็นต้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5
1 41000023 ภูมิปัญญาล้านนาในงานศิลปกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 ด้านความรู้ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากการปฏิบัติงานของนักศึกษาและประเมินจากผลงานที่ปฎิบัติ 4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 5. ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 17 ุ60%
3 ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง และประเมินจากการทดสอบ เป็นต้น ตลอดภาคการศึกษา 5%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 5%
- เอกวิทย์ ณ ถลาง,ภูมิปัญญาล้านนา,กรุงเทพฯ,อัมรินทร์,2544,พิมพ์ครั้ง 2
- สุรชัย จงจิตงาม,คู่มือท่องเที่ยว เรียนรู้:ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง,อัมรินทร์,กรุงเทพฯ,2549.
- สุรพล ดำริห์กุล,ลายคำล้านนา,ด่านสุธาการพิมพ์,กรุงเทพฯ,2544.
- วรลัญจก์ บุญสุรัตน์,วิหารล้านนา,เมืองโบราณ,กรุงเทพฯ,2544.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาล้านนาไทย
จระกฤตย์ โพธิ์ระหงส์, ม.ป.ป., การสร้างสรรค์กับงานศิลปะ, สืบค้นจาก http://aoao555.

wordpress.com/การสร้างสรรค์กับงานศิลปะ/ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2559.

จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา, 2540, ลายคำ เสาวิหารพระพุทธ วัดพระธาตุลำปางหลวง, วารสารเมือง

โบราณ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2540 หน้า 113-128.

ชลูด นิ่มเสมอ, 2532, การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ. ทรงพันธ์ วรรณมาศ, 2536, พจนานุกรมภาพศิลปวัฒนธรรมล้านนาและหัวเมืองฝ่ายเหนือ,

กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ธานินทร์ ทิพยางค์, วัชรวีร์ ศรีสรรพางค์, 2555, งานช่างศิลป์ไทย : ปูนปั้น เครื่องถมและลงยา

เครื่องรักประดับมุก ประดับกระจก, กรุงเทพฯ : คติ.

นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2536, การศึกษาของชาติกับภูมิปัญญาท้องถิ่น, กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง. ปรีชา อุยตระกูล, 2530, ภูมิปัญญาชาวบ้าน, ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน

จังหวัดขอนแก่น, วันที่ 5-7 มกราคม 2530, ม.ป.ท., เอกสารอัดสำเนา.

พรศิลป์ รัตนชูเดช, 2554, ภาพลายเส้นพุทธศิลป์ล้านนา. เชียงใหม่ : สุเทพการพิมพ์. ภาณุพงษ์ เลาหสม, 2541, จิตรกรรมฝาผนังล้านนา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. มนต์มนัส ผลาหาญ, 2556, เครื่องเงินบ้านวัวลาย ชุมชนวัดหมื่นสารบ้านวัวลายและชุมชนวัด

ศรีสุพรรณ จังหวัดเชียงใหม่, การศึกษาค้นคว้าเฉพาะบุคคล หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

 


รุ่ง แก้วแดง, 2542, ปฏิวัติการศึกษาไทย, กรุงเทพฯ : มติชน. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์, 2544, วิหารล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. วัฒนะ จูฑะวิภาต, 2545, ศิลปะพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : สิปประภา. วันเพ็ญ พวงพันธุ์บุตร, 2542, พื้นฐานวัฒนธรรมไทย, ลพบุรี : คณะมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฎเทพสตรี.

วิชิต นันทสุวรรณ, 2528, ภูมิปัญญาในงานพัฒนา, วารสารสังคมพัฒนา ฉบับที่ 5 กันยายน-

ตุลาคม.

วิถี พานิชพันธ์, 2558, เครื่องเขินในเอเชียอาคเนย์, เชียงใหม่ : มิ่งเมืองนวรัตน์. วิถี พานิชพันธ์, 2548, วิถีล้านนา, เชียงใหม่ : ซิลค์เวอร์ม. วินัย ปราบริปู, 2552, จิตรกรรมฝาผนังเมืองน่าน, กรุงเทพฯ : 21 เซนจูรี่. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2536, มรดกพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2539, ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้น. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ, 2546, พจนานุกรมหัตถกรรมเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้าน, กรุงเทพฯ : เมือง

โบราณ.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์, 2556, ศิลปะล้านนา, กรุงเทพฯ : มติชน. ศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ, 2555, พุทธศิลป์ล้านนาคุณค่าศรัทธาและการอนุรักษ์, เชียงใหม่ :

วนิดาการพิมพ์.

ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา, 2556, ประติมากรรมพระพุทธรูป, สืบค้นจาก

www.lanna-arch.net/art/architecture3 เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559.

สงกรานต์ กลมสุข, 2556, ศิลปกรรมล้านนาเพื่อการท่องเที่ยว, วารสารมนุษยศาสตร์

สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (เมษายน-กันยายน 2556)
หน้า 163-194.

สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554, ภูมิปัญญาเชิงช่างเชียงใหม่,

เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์.

สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ม.ป.ป., เครื่องเขินล้านนา, สืบค้นจาก http://library.cmu.

ac.th/ntic/lannalacquerware/ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559.

สุรพล ดำริห์กุล, 2544, ลายคำล้านนา, กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. สุวิภา จำปาวัลย์, ชัปนะ ปิ่นเงิน, 2551, การศึกษาพุทธสัญลักษณ์ล้านนา, สถาบันวิจัยวิจัยสังคม

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อานนท์ พรหมศิริ, 2555, การศึกษาโคมผัดล้านนาสู่การออกแบบศูนย์นาฏกรรมแสงเงาร่วมสมัย

วิทยานิพนธ์ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาวุธ เงินชูกลิ่น, 2545, ความรู้ทั่วไปในงานช่างศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์.

 
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาล้านนาไทย
 
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอน แบบประเมินรายวิชาในรูปแบบของใบประเมิน หรือการประเมินทางอินเทอร์เนต การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน สังเกตการณ์จากพฤติกรรมผู้ร่วมชั้นเรียน
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่าง
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย