การออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง
Stage Costume Design
1.1 รู้หลักการเกี่ยวกับรูปแบบของการแสดง
1.2 เข้าใจการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อแสดง
1.3 เข้าใจการใช้ผ้าและสีให้เหมาะสมกับการแสดง
1.4 เข้าใจการออกแบบเครื่องแต่งกายและเครื่องประกอบการแต่งกายให้เหมาะสมกับบุคลิกของตัวละครและยุคสมัยของเนื้อหาเรื่องราวสำหรับจัดแสดงบนเวที
1.5 มีทักษะในการปฏิบัติงานออกแบบเครื่องแต่งกายและเครื่องประกอบการแต่งกายเพื่อการแสดง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ กระบวนการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อแสดง การใช้ผ้าและสีให้เหมาะสมกับการแสดง ออกแบบเครื่องแต่งกายและเครื่องประกอบการแต่งกายให้เหมาะสมกับบุคลิกของตัวละครและยุคสมัยของเนื้อหาเรื่องราวสำหรับจัดแสดงบนเวที แสดงถึงความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมหรือทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับรูปแบบของการแสดง ออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อแสดง การใช้ผ้าและสีให้เหมาะสมกับการแสดง ออกแบบเครื่องแต่งกายและเครื่องประกอบการแต่งกายให้เหมาะสมกับบุคลิกของตัวละครและยุคสมัยของเนื้อหาเรื่องราวสำหรับจัดแสดงบนเวที
- อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ อย่างน้อย 1 ชั่วโมง / สัปดาห์
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อมด้านการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง
1.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อมในวิชาชีพ การออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง
1.2.2 บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ทางวิชาการและวิชาชีพการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง
1.2.3 ฉายสื่อภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับกิจกรรมมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อมจิตสานึกสาธารณะในวิชาชีพจัดกิจกรรมภายในห้องเรียน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย อภิปราย เกี่ยวกับเนื้อหาของการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง
2.2.2 การนำเสนอด้วยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง
2.2.3 การวิเคราะห์และให้นำเสนอกรณีศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง และเครื่องประกอบการแต่งกายให้เหมาะสมกับบุคลิกของตัวละคร
2.2.4 ศึกษาดูงานจากสถานประกอบการ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 ประเมินจากผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการนำเสนอผลงาน
3.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา จากการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อแสดงการใช้ผ้าและสีให้เหมาะสมกับการแสดง ให้เหมาะสมกับบุคลิกของตัวละครและยุคสมัยของเนื้อหาเรื่องราวสำหรับจัดแสดงบนเวที ทั้งทางด้านวิชาการหรือด้านวิชาชีพ
3.2.1 มอบหมายงานและการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานรายบุคคลและรายกลุ่มที่ให้ปฏิบัติและประยุกต์วิเคราะห์ผลงานและแก้ไขปัญหา แล้วจัดกลุ่มให้นักศึกษานำเสนอผลงานสร้างสรรค์
3.2.2 การศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
4.1.1 สามารถใช้ความรู้พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.2.1 จัดกิจกรรมรายบุคคลและรายกลุ่มในการนำความรู้การออกแบบเครื่องแต่งกายให้เหมาะสมกับการแสดงของเรื่องราวสำหรับจัดแสดง แต่ละขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดี
4.3.1 ประเมินจากการร่วมจัดกิจกรรมรายบุคคลและรายกลุ่ม และการรายงานผลของการจัดกิจกรรมนำเสนอผลงานสร้างสรรค์
4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมกับงานการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อแสดง
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษาค้นคว้าและทำการวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม กับงานการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อแสดง
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพกับงานการออกแบบเครื่องแต่งกายเพื่อแสดง
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ จากระบบสารสนเทศและใช้ข้อมูลจากสื่ออิเล็คโทนิกส์ นำเสนอโดยรูปแบบวิธีการและสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.2 สามารถสืบค้น ศึกษาค้นคว้าและทำการวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี แล้วนำเสนอด้วยการอธิบายผลงานสร้างสรรค์และการแสดง
5.2.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3.1 ประเมินจากผลการหาข้อมูลที่ถูกต้องจากวิธีการและสื่อสาร ระบบสารสนเทศ
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ และวิธีการนำเสนอด้วยวิธีการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 17 | 15% 15% |
2 | 3.1 5.2 | การปฏิบัติงานและผลงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 60% |
3 | 1.1 4.2 | การเข้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม และผลการทำงาน ทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง. ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องแต่งกาย.พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อินฟอร์มีเดีย อินเตอร์เนชั่นแนล. 2547
วาสนา สว่างคำ. ตำราตัดเสื้อสตรี. กรุงเทพฯ, 3530.
รสสุคนธ์ พราหมณ์เสน่ห์. ตำราตัดเสื้อสตรีฉบับก้าวหน้า. กรุงเทพฯ: วงศ์สว่างการพิมพ์, ม.ป.ท.
ศิริมงคล นาฎยกุล. ความรู้เบื้องต้นการจัดแสง สี ในงานศิลปะการแสดง. มหาสารคาม :ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.2549.
ซูไรมาน เวศยาภรณ์. งานฉากละคร. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.2541
Costume Designers Handbook : A Complete Guide for Amateur and Professional Costume Design Paperback-November 2, 1992
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิภาพผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผุู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผุู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา