พืชสมุนไพรกับภูมิปัญญาไทย

Medicinal Plants and Traditional Knowledge

1.1 เพื่อให้เข้าใจความหมาย ความสำคัญของพืชสมุนไพรและภูมิปัญญาไทย
1.2 เพื่อให้รู้ชนิดของพืชสมุนไพร สรรพคุณของสมุนไพรและวิธีการใช้ที่ถูกต้อง
1.3 รู้ความสำคัญและประโยชน์ของพืชสมุนไพร
1.4 สามารถปลูกพืชสมุนไพรเศรษฐกิจ ขยายพันธุ์ บำรุงพันธุ์เพื่อธุรกิจการค้าได้
1.5 สามารถแยกแยะพืชสมุนไพรที่เป็นพิษและพืชสมุนไพรที่เป็นประโยชน์เพื่อการใช้รักษาโรคตามหลักการสาธารณสุขมูลฐาน
1.6 สามารถสกัดสารออกฤทธิ์และผสมปรุงแต่งยาตามหลักแพทย์แผนไทยแบบง่ายๆได้
เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของพืชสมุนไพรไทยที่สืบเนื่องกันต่อๆมาจากภูมิปัญญาไทยที่มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง  อีกทั้งได้รู้วิธีการใช้พืชสมุนไพรที่ถูกต้องเพื่อประโยชน์ ด้านสุขภาพ
ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพืชสมุนไพรและภูมิปัญญาไทย ประวัติของพืชสมุนไพรที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย การแบ่งประเภทของสมุนไทยตามระบบต่างๆ   การปลูก การดูแลรักษา การขยายพันธุ์ การเก็บรักษา การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์พืช  การสกัดสารออกฤทธิ์และผสมปรุงแต่งยาตามหลักแพทย์แผนไทย การตลาดพืชสมุนไพรในประเทศและต่างประเทศ
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.1 สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหาโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน
1.2  ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3  ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
1.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.1 ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้แก่การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางโดย เน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ต /แหล่งข้อมูลอื่นๆ และจัดทำเป็นรายงาน
2.1   ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.2   ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานเพาะปลูกไม้กระถางที่ได้รับมอบหมาย
3.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3  ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วโดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่างๆรวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
 3.4   เชิญผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐภายนอกมหาวิทยาลัยมาให้ข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
3.1   ทดสอบโดยข้อเขียนและสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
 3.2   ดูจากรายงานการนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
 3.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1   มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมายเพื่อให้นักศึกษา
   ทำงานได้กับผู้อื่นโดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.2   ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
4.3   การนำเสนอรายงาน
4.1   ประเมินตนเอง และเพื่อนโดยประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.2  ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.3   ประเมินจากกระบวนการทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1  ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
5.2มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียนพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้องชัดเจนและกระชับ
5.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี Power pointหรือเทคโนโลยีอื่นๆที่เหมาะสม
5.2   ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
5.3ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบโดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลขกราฟหรือตาราง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 21033303 พืชสมุนไพรกับภูมิปัญญาไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1, 2.2,3.1,4.3 การเข้าชั้นเรียน /การแต่งกาย การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.3,4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์
3 1.3,4.3 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 5%
4 1.3,4.3 การสอบกลางภาค 8 5%
5 5.1,5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 5.1,5.3 การสอบปลายภาค 16 65 %
     -กรรณิการ์  พรมเสาร์และสรรสิริ  อินจัน. 2540 การแพทย์พื้นบ้านกับการดูแลสุขภาพ.  สถาบันการแพทย์แผนไทย  กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข  กรุงเทพฯ  531 น.
    -กัญจนา   ดีวิเศษ. 2542. ผักพื้นบ้านภาคเหนือ.   สถาบันการแพทย์แผนไทย  กรมการแพทย์กระทรวงสาธาณสุข.  โรงพิมพ์องค์การสังเคราะห์ทหารผ่านศึก.  กรุงเทพฯ.  280 น.
     -ก่องกานดา  ชยามฤต.  2540.  สมุนไพรตอนที่ 6.  สวนพฤกษศาสตร์ป่าไม้  สำนักวิชาการป่าไม้    กรมป่าไม้.  หน้า 117-118.
      - กาญจนา   สาลีติ๊ด.  2532.  พฤกษศาสตร์ทั่วไป.  สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.  กรุงเทพฯ.  230  น.
       -ชัยโย  ชัยชาญทิพยุทธ   วชิรา   แดนตะวัน   สุรางค์  หอมจันทร์และลักษณะหญิง  รีกรสาร.  2523.  การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นสำหรับงานวิจัย  อันดับที่ 01. คณะเภสัชศาสตร์  จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย   กรุงเทพฯ.255 น.
      - นพมาศ    สุนทรเจริญนนท์.   2544.   ยาจากสมุนไพรและการควบคุมภาพยาเตรียมจากสมุนไพร.   เอกสารการประชุมวิชาการ “ความก้าวหน้าทางคุณภาพและทางคลินิกของยาจากสมุนไพร”  ครั้งที่ 1 วันที่ 6 กันยายน 2544  ณ  โรงแรมเวียงลคอร  จ.ลำปาง
      -นที  ชวนสนิท.  2543.   สมุนไพร.   เอกสารประกอบการอภิปรายเรื่องแนวโน้มการตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรภายในประเทศและต่างประเทศในการสัมมนาแนวทางการพัฒนาสมุนไพรของประเทศไทย   วันที่  13-14  กันยายน  2543   โรงแรมมารวยการ์เดนส์    กรุงเทพฯ   หน้า  C1-C18.
       -นันทวัน   บุณยะประภัครและอรนุช   โชดชัยเจริญพร.   2539.  สมุนไพร..............ไม้พื้นบ้าน(1).   สำนักงานข้อสมุนไพร  คณะเภสัชศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล.  895 น.
       -นันทวัน   บุณยะประภัครและอรนุช   โชดชัยเจริญพร.   2541.  สมุนไพร..............ไม้พื้นบ้าน(2).   สำนักงานข้อสมุนไพร  คณะเภสัชศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล.  640  น.
     - นันทวัน   บุณยะประภัครและอรนุช   โชคชัยเจริญพร.   2542.  สมุนไพร..............ไม้พื้นบ้าน(3).   สำนักงานข้อสมุนไพร  คณะเภสัชศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล.  823 น.
        -ประเวศ    วะสี.   2541.   ภูมิปัญญาไทยกับการแก้ไขเศรษฐกิจชาติ.   เอกสารการบรรยายพิเศษในการประชุมสัมมนา  “ผักพื้นบ้านอาหารธรรมชาติอีสานและสมุนไพรไทย”   ครั้งที่ 3 วันที่ 25-28 พฤศจิกายน   2541.  ณ   สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร  สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  กระทรวงศึกษาธิการ.
          ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา  สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป